Page 14 - ประมวลข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครอง สิทธิมนุษยชน รวมทั้งการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้สอดคล้อง
P. 14

ประมวลข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
                                                      รวมทั้งการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน
                                            ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ระหว่าง ตุลาคม ๒๕๕๙ – ธันวาคม ๒๕๖๐


                                    มาตรา ๔

                                    ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ

                  และความเสมอภาค บรรดาที่ชนชาวไทยเคยได้รับการคุ้มครองตามประเพณีการปกครองประเทศไทย
                  ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศ

                  ไทยมีอยู่แล้ว ย่อมได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญนี้

                                    ๓.๓.๓ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช .... (ผ่านการลง

                  ประชามติ เมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๕๙)

                                    มาตรา ๒๙

                                    บุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่ได้กระท าการอันกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระท า

                  นั้นบัญญัติเป็นความผิดและก าหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่บุคคลนั้นจะหนักกว่าโทษที่บัญญัติไว้ใน
                  กฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระท าความผิดมิได้


                                    ในคดีอาญา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจ าเลยไม่มีความผิด และก่อนมี
                  ค าพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระท าความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระท า

                  ความผิดมิได้

                                    ๓.๔.๔ หลักการชี้แนะของสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (UN

                                                                    ๓
                  Guiding Principle on Business and Human Rights)
                                    หลักการชี้แนะของสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน เป็นเอกสาร

                  ที่จัดท าและเผยแพร่โดยส านักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ  ซึ่งวางอยู่บนหลักการ

                  ๓ ประการ คือ

                                    ๑) การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (Protect) โดยรัฐมีหน้าที่ในการคุ้มครองไม่ให้มีการ

                  ละเมิดสิทธิมนุษยชนจากองค์กรของรัฐหรือบุคคลที่สาม ซึ่งหมายความรวมถึงองค์กรภาคธุรกิจด้วย

                                    ๒) การเคารพสิทธิมนุษยชน (Respect) องค์กรและบุคคลโดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กร

                  ภาคธุรกิจมีหน้าที่ในการเคารพสิทธิมนุษยชน

                                    ๓) การเยียวยา (Remedy)  เมื่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น รัฐต้องจัดให้มีการ

                  เยียวยาที่เหมาะสม รวมทั้งยังเรียกร้องให้องค์กรภาคธุรกิจจัดให้มีช่องทางในการร้องเรียนและเยียวยา





                         ๓   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง มาตรฐานสากลในการด าเนินธุรกิจ
                  เพื่อการเคารพสิทธิมนุษยชน, ๒๕๕๙, หน้า ๑๗




                                                            ๑๐
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19