Page 50 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 50

๔๘



               ๒๗ ก.พ. – ๒๔ มี.ค. ๒๕๖๐ ใหแนวทางวาควรประกอบดวยขั้นตอน คือ ๑) ประเมินผลกระทบ
               และเผยแพรขาวสารแกสาธารณะ ๒) อํานวยความสะดวกในการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการ

               ตัดสินใจ และ ๓) จัดใหเขาถึงการไดรับการเยียวยากรณีที่ไดรับความเสียหาย 37
                             ๒.๒ ความเห็นประเด็นสิทธิมนุษยชนตอรางพระราชบัญญัติทั้งสองฉบับ


                             รางพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปาฯ และ รางพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติฯ
               เปนกฎหมายดานการอนุรักษและใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะสัตวปาและปาไม โดยมี
               วัตถุประสงคเพื่อแกไขเพิ่มเติมกฎหมายเดิมซึ่งใชมานานแลว (พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา
               พ.ศ. ๒๕๓๕ และพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔) รวมทั้ง เพื่ออนุวัติการใหเปนไปตาม
               บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย โดยใหประชาชนและชุมชนทองถิ่นมีสวนรวมในการอนุรักษ

               คุมครอง บํารุงรักษา ฟนฟู จัดการและใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ
               อยางยั่งยืน เพื่อประโยชนแกการทองเที่ยวเชิงนิเวศนและนันทนาการ และเพื่อใหสอดคลองกับขอตกลง
               ระหวางประเทศตามพันธกรณีที่ประเทศไทยเปนภาคีสมาชิก ตลอดจนเพื่อแกไขปญหาการใชประโยชน

               ที่ดินในพื้นที่ปาอนุรักษที่ไมเหมาะสม

                             สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปาฯ รางพระราชบัญญัตินี้
               มีหลักการ คือ เปนรางกฎหมายที่ออกมาเพื่ออนุรักษ สงวน คุมครอง ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
               สัตวปา โดยใหมีระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสัตวปา ควบคุมการครอบครอง การคา
               การนําเขา สงออกสัตวปา ซากสัตวปา ผลิตภัณฑจากซากสัตวปาใหมีความเหมาะสม ไมกอใหเกิดภัย

               อันตรายตอประชาชนและสภาพแวดลอม และสอดคลองกับอนุสัญญาระหวางประเทศที่ประเทศไทย
               เปนภาคีสมาชิก สงเสริมใหชุมชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสวนรวมในการบริหารจัดการ คุมครอง
               ดูแลรักษา หรือบํารุงทรัพยากรธรรมชาติและสัตวปา ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
               ๒๕๖๐ ใหอํานาจในการกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข และมาตรการควบคุมตางๆ เชน การหามลา

               สัตวปา การควบคุมการครอบครองสัตวปาหรือซากสัตวปา ควบคุมการคา การนําเขา สงออก หรือนําผาน
               ซึ่งสัตวปา ซากสัตวปา หรือผลิตภัณฑจากซากสัตวปา ควบคุมการดําเนินกิจการเพาะพันธุสัตวปา
               การดําเนินกิจการสวนสัตว กําหนดใหประชาชน หนวยงานหรือองคกรตางๆ สามารถขออนุญาตเขาไป

               ในพื้นที่อนุรักษสัตวปาตามกฎหมายนี้ไดเฉพาะเพื่อเรียนรู ศึกษาวิจัย เกี่ยวกับสัตวปา พันธุพืช
               ทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศวิทยาปาไม กําหนดใหชุมชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสวนรวม
               ดูแลรักษาเขตรักษาพันธุสัตวปาและเขตหามลาสัตวปา และสามารถใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ
               บางชนิดที่เกิดทดแทนไดอยางยั่งยืนไดภายใตเงื่อนไขที่กําหนด ใหอํานาจในการตราอนุบัญญัติ
               กฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ โดยผานการพิจารณาใหความเห็นชอบจากคณะกรรมการสงวน

               และคุมครองสัตวปาแหงชาติเพื่อใหเกิดความถูกตองเหมาะสมและเปนธรรมกับประชาชนผูเกี่ยวของ
               มีบทเฉพาะกาลกําหนดใหกฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ ตามกฎหมายวาดวยการสงวนและคุมครอง






                             37  UN General Assembly, A/HRC/34/49 , 19 January 2017 , Report of the Special Rapporteur on the
               Issue of Human Rights obligations relating to the enjoyment of a safe, clean, healthy and sustainable environment.
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55