Page 51 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 51
๔๙
สัตวปาที่บังคับใชอยูเดิมใชไดตอไปเทาที่ไมขัดแยงกับกฎหมายนี้ จนกวาจะมีการออกใหมมาใชบังคับ
ตามกฎหมายนี้
สวนสาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติฯ คือ ไดมีการเพิ่มเติมกําหนด
นิยามของคําวา วนอุทยาน สวนพฤกษศาสตร และสวนรุกขชาติ เขตสงวนสภาพธรรมชาติ เขตศึกษา
ธรรมชาติ (มาตรา ๔) ซึ่งเปนการกําหนดบริเวณที่ดินที่มีสภาพธรรมชาติที่นาสมควรแกการอนุรักษ
เปนแหลงคุมครองทรัพยากรธรรมชาติ โดยเพิ่มเติมหมวด ๒ การกําหนดบริเวณพื้นที่ วนอุทยาน
สวนพฤกศาสตร และสวนรุกขชาติ เพื่อใหมีผลบังคับตามกฎหมายดวย ทั้งนี้ ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น
มีสวนรวมในการตรวจสอบแนวเขตหรือชวยเหลือพนักงานเจาหนาที่ดวย (มาตรา ๗) อีกทั้ง ไดมีการกําหนด
บทบัญญัติขอหามเด็ดขาดมิใหกระทําการใดๆ ในเขตอุทยานแหงชาติและกําหนดใหการกระทําใดๆ
นอกเขตอุทยานแหงชาติที่สงผลกระทบเสียหายแกพื้นที่อุทยานแหงชาติ ถือวาเปนการกระทํา ความผิด
38
ดวย และไดมีการกําหนดเขตตางๆ เชน เขตสงวนสภาพธรรมชาติ ซึ่งตองหามเปลี่ยนแปลงสภาพ
ธรรมชาติเดิมโดยเด็ดขาด และเขตศึกษาธรรมชาติ ซึ่งอนุญาตใหทําไดเฉพาะบางกรณี เชน การศึกษาวิจัย
ทองเที่ยว ภายใตหลักเกณฑวิธีการและเงื่อนไขตามระเบียบที่อธิบดีกรมอุทยานแหงชาติฯ ไดกําหนดไว
39
ตามความเห็นชอบของรัฐมนตรี นอกจากนี้ มาตรา ๖ เรื่องการกําหนดที่ดินใหเปนอุทยานแหงชาตินั้น
มีการเปดโอกาสใหชุมชนทองถิ่นที่อาศัยอยูบริเวณนั้น ไดมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นในการกําหนด
ที่ดินใหเปนอุทยานแหงชาติ อันสอดคลองกับสิทธิชุมชนโดยสงเสริมหลักการมีสวนรวมของประชาชน
40
ซึ่งมีสวนไดเสีย ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๔๓ และ
38 ราง พรบ. อุทยานแหงชาติ พ.ศ. .... มาตรา ๒๔ หามมิใหผูใดกระทําการอยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้ภายในเขต
อุทยานแหงชาติ
…
การกระทําตามวรรคหนึ่งใหหมายความรวมถึงการกระทํานอกเขตอุทยานแหงชาติแลวการกระทํานั้นสงผลใหเกิด
ความเสียหายแกอุทยานแหงชาติดวย
39 ราง พ.ร.บ . อุทยานแหงชาติ พ.ศ. ... มาตรา ๖ บัญญัติวา “เมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นวาที่ดินแหงใดมีสภาพธรรมชาติ
ที่นาสนใจสมควรอนุรักษไวใหเปนแหลงคุมครองทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ความหลากหลายทางชีวภาพและแหงตนน้ําสวนใหญ
ใหคงเดิมไวมิใหเปลี่ยนแปลงและใหเปนแหลงศึกษาเรียนรูธรรมชาติและนันทนาการของประชาชน ใหมีอํานาจกระทําไดโดย
40 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
มาตรา ๔๓ บุคคลและชุมชนยอมมีสิทธิ
(๑) อนุรักษฟนฟูหรือสงเสริมภูมิปญญา ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีอันดีงามทั้งของทองถิ่น
และของชาติ
(๒) จัดการ บํารุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และความหลากหลายทางชีวภาพ
อยางสมดุลและยั่งยืนตามวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ
(๓) เขาชื่อกันเพื่อเสนอแนะตอหนวยงานของรัฐใหดําเนินการใดอันจะเปนประโยชน ตอประชาชนหรือชุมชน หรือ
งดเวนการดําเนินการใดอันจะกระทบตอความเปนอยูอยางสงบสุข ของประชาชนหรือชุมชน และไดรับแจงผลการพิจารณาโดยรวดเร็ว ทั้งนี้
หนวยงานของรัฐตอง พิจารณาขอเสนอแนะนั้นโดยใหประชาชนที่เกี่ยวของมีสวนรวมในการพิจารณาดวยตามวิธีการ ที่กฎหมายบัญญัติ
(๔) จัดใหมีระบบสวัสดิการของชุมชน
สิทธิของบุคคลและชุมชนตามวรรคหนึ่ง หมายความรวมถึงสิทธิที่จะรวมกับองคกร ปกครองสวนทองถิ่นหรือรัฐในการ
ดําเนินการดังกลาวดวย