Page 55 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 55
๕๓
สูงสุดของเด็กเปนลําดับแรก เด็กจะไดรับการจดทะเบียนทันทีหลังการเกิด และเด็กมีสิทธิที่จะมีชื่อ
นับแตเกิด รวมทั้งสิทธิที่จะไดสัญชาติดวย
๒.๒ ความเห็นตอบทบัญญัติแหงรางพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่..)
พ.ศ. ....
๒.๒.๑ รางมาตรา ๖ เพิ่มเติมวรรคสอง วรรคสาม วรรคสี่ของพระราชบัญญัติ
การทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๙/๒ เพื่อแกไขปญหาเด็กถูกทอดทิ้ง เด็กเรรอน และเด็ก
ไมปรากฏบุพการีที่อยูในสถานะของคนที่ไมมีโอกาสพิสูจนสถานะการเกิดได ทําใหตกเปนคนไรรากเหงา
ไรรัฐ ไรสัญชาติ และไมสามารถเขาสูกระบวนการแกไขปญหาเรื่องสถานะและสัญชาติได ใหไดรับการ
จดทะเบียนการเกิดซึ่งจะเปนตนเรืองของการใชสิทธิตางๆ และเพื่อใหมีกฎหมายรองรับการปฏิบัติของ
เจาหนาที่ อันจะทําใหการแกไขปญหาการจดทะเบียนการเกิดของประเทศไทยเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
ยิ่งขึ้น และสามารถดําเนินการใหกับเด็กดอยโอกาสไดอยางเสมอภาคในแนวทางเดียวกัน อันสอดคลองกับ
การสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนตามที่อธิบายในขอ ๒.๑
๒.๒.๑ รางมาตรา ๑๐ เพิ่มเติมมาตรา ๓๔/๑ บัญญัติไมใหกําหนดเลขประจําบาน
และจัดทําทะเบียนบานใหบานที่ปลูกสรางในที่ดินอันเปนสาธารณะหรือที่บุคคลทั่วไปทราบวาไมใชที่ดิน
สําหรับอยูอาศัย เวนแตจะไดรับอนุญาตโดยถูกตอง และรางมาตรา ๑๑ บัญญัติมิใหใชบังคับมาตรา ๓๔/๑
กับบานที่ปลูกสรางแลวกอนที่กฎหมายนี้จะใชบังคับ
พิจารณาเห็นวาบทบัญญัติรางมาตรานี้อาจสอดคลองกับสิทธิของบุคคลและชุมชน
ตามที่รับรองไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๔๓ (๒) ซึ่งรับรองวา
บุคคลและชุมชนมีสิทธิจัดการบํารุงรักษาและใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม
สวนประเด็นที่หวงใยคือ ทางปฏิบัติบานที่ไมมีเลขประจําบานในที่ดินดังกลาว เจาของ
บานและสมาชิกในครอบครัวมักเปนผูดอยโอกาสทางสังคม หากมีการบังคับใหตองโยกยายออกจากพื้นที่
ก็มีโอกาสที่บุคคลเหลานี้จะเขาไมถึงความชวยเหลือตามที่ควรจะไดรับ
๒.๒.๓ รางมาตรา ๔ แกไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๕ วรรคสาม บัญญัติวา ในกรณีจําเปน
เพื่อประโยชนในการบริหารราชการแผนดิน การรักษาความสงบเรียบรอยหรือความมั่นคงในราชอาณาจักร
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยจะอนุมัติใหสวนราชการหรือหนวยงานของรัฐเชื่อมโยงขอมูลที่ปรากฏ
ในทะเบียนอื่นนอกจากทะเบียนตามวรรคสองฯ ขณะที่มาตรา ๑๕ วรรคสามตามกฎหมายเดิม บัญญัติให
เปนอํานาจของคณะรัฐมนตรีเปนผูอนุมัติใหผูอํานวยการทะเบียนกลางดําเนินการดังกลาว จึงมีขอสังเกต
วาอาจเปดโอกาสใหเปนดุลพินิจของบุคคล (รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย) แทนการพิจารณาโดย
คณะบุคคล (คณะรัฐมนตรี) ทั้งไมมีขอกําหนดเกี่ยวกับหลักเกณฑของคําวา “กรณีจําเปน” และ “ทะเบียน
อื่น”
จากขอสังเกตขางตน จึงเห็นควรมีหลักเกณฑเพื่อเปนกรอบสําหรับการใชดุลพินิจ และ
ควรมีเหตุผลประกอบการพิจารณาอนุมัติตามรางมาตรา ๔ นี้ โดยคํานึงถึงการคุมครองสิทธิมนุษยชนของ