Page 53 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 53

๕๑



                       ตองไมขัดหลักนิติธรรม ไมเพิ่มภาระหรือจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลเกินสมควร และระบุเหตุผล
                       ความจําเปนในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพดวย

                                     ๒. รางพระราชบัญญัติฯ ทั้งสองฉบับ มีบทบัญญัติที่เปนขอหามและใหอํานาจพนักงาน
                       เจาหนาที่ไวหลายมาตรา ประกอบกับในการอนุรักษและใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและ

                       การใหประชาชนและชุมชนมีสวนรวมในกระบวนการตัดสินใจ ประชาชนและชุมชนจําเปนตองทราบขอมูล
                       ที่เกี่ยวของอยางรอบดาน (สิทธิในการไดรับขอมูลขาวสาร) เมื่อพิจารณารางพระราชบัญญัติฯ ทั้งสองฉบับ
                       แลว ยังไมมีบทบัญญัติที่ชัดเจนที่กําหนดใหหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐ มีขอผูกพันในการแจง

                       ขอมูลขาวสารที่เปนขอหามหรือที่เปนอํานาจของพนักงานเจาหนาที่
                                     ๓. ผูไดรับความเสียหายหรือไดรับผลกระทบทางลบจากการบังคับใชกฎหมาย มักไดแก

                       ผูดอยโอกาสทางสังคม เชน กลุมชาติพันธุ ชนกลุมนอย คนยากจนที่ตองพึ่งพิงการใชประโยชนจากที่ดิน
                       และทรัพยากรธรรมชาติ แตรางพระราชบัญญัติ ฯ ทั้งสองฉบับยังไมมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการชวยเหลือ
                       หรือเยียวยา ผูไดรับความเสียหายจากการอนุรักษและใชประโยชนจากทรัพยากร สัตวปา และปาไม

                                     อีกทั้ง รางพระราชบัญญัติฯ ไดกําหนดใหมีการตราอนุบัญญัติ ไดแก กฎกระทรวง

                       ระเบียบ ประกาศ โดยผานการพิจารณาใหความเห็นชอบจากคณะกรรมการสงวนและคุมครองสัตวปา
                       แหงชาติ โดยที่อนุบัญญัติแมเปนกฎหมายลําดับรองแตมีความสําคัญมาก เนื่องจากการกําหนดหลักเกณฑ
                       วิธีการ เงื่อนไข และมาตรการควบคุมตางๆ เชน ขอหาม ขอปฏิบัติ ในเรื่องการครอบครองสัตวปาหรือ
                       ซากสัตวปา การคา การนําเขา สงออก หรือนําผาน ซึ่งสัตวปา ซากสัตวปา หรือผลิตภัณฑจากซากสัตวปา

                       การดําเนินกิจการเพาะพันธุสัตวปา การดําเนินกิจการสวนสัตว การจายคาชดเชยการขาดประโยชนในการใช
                       ที่ดินของผูมีสิทธิในที่ดินและการปฏิบัติการหรือการสั่งการใหผูครอบครองที่ดินออกจากเขตรักษาพันธุสัตว
                       ปา และการจายคารื้อยาย (ตามมาตรา ๔๒ (๒)) รวมถึงการพิจารณาอนุญาตคําขอตางๆ เปนตน จะตองมี
                       การกําหนดไวในอนุบัญญัติดังกลาว ซึ่งในรางพระราชบัญญัติฯ เพียงแตใหอํานาจหนวยงานของรัฐเทานั้น

                       แตไมไดกําหนดรายละเอียดที่วางหลักประกันความยุติธรรมของประชาชนใหเห็นเปนรูปธรรม ในการจัดทํา
                       รางอนุบัญญัติซึ่งออกตามความในรางพระราชบัญญัตินี้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                       โดยกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช จึงควรเปดโอกาสใหประชาชน หนวยงานที่เกี่ยวของ
                       และผูมีสวนไดสวนเสีย หรืออาจไดรับผลกระทบ เขาไปมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นในการจัดทํา

                       รางอนุบัญญัติเหลานั้นดวย เพื่อใหสอดคลองกับเจตนารมณของรัฐธรรมนูญฯ และพันธกรณีระหวางประเทศ
                       อยางแทจริง


                                                                                          สํานักกฎหมายและคดี

                                                                                              กรกฎาคม ๒๕๖๐
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58