Page 47 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 47

๔๕



                       ในลักษณะที่เหมาะสมแกความเปนอยูที่ดีของเด็กและไดสัดสวนกับทั้งสภาพการณและความผิดของเด็ก”
                       นอกจากนี้ยังสอดคลองกับกฎอันเปนมาตรฐานขั้นต่ําของสหประชาชาติวาดวยการบริหารงานยุติธรรม

                       เกี่ยวแกคดีเด็กและเยาวชน (The Beijing Rules) ขอ ๒๖ วรรค ๔ ซึ่งกําหนดวา “ผูกระทําผิดที่เปนสตรี
                       ในสถานฝกอบรมแบบปดควรไดรับความสนใจเปนพิเศษตามความจําเปนสวนตัวและตามปญหา ควรไดรับ
                       การดูแล การคุมครองความปลอดภัย ความชวยเหลือ การบําบัด และการฝกอบรมที่ไมดอยกวาที่ใหกับ
                       ผูกระทําผิดซึ่งเปนบุรุษ การบําบัดคนเหลานั้นจะตองเทาเทียมกัน” ]

                                         ๒.๔.๒ รางพระราชบัญญัตินี้ยังไมมีบทบัญญัติที่ชัดเจนเกี่ยวกับการพัฒนาระบบ

                       การติดตามผลและกลไกปองกันการกลับมากระทําความผิดซ้ําอีกภายหลังเด็กและเยาวชนออกจาก
                       สถานพินิจฯ หรือพนจากการฝกอบรม จึงควรมีการบูรณาการรวมกันระหวางหนวยงานในกระบวนการ
                       ยุติธรรมสําหรับเด็กและเยาวชน และเครือขายที่เกี่ยวของกับเด็กและเยาวชน รวมถึงควรมีการศึกษาวิจัย
                       เพิ่มเติมเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนที่เคยกระทําผิดและผานการฝกอบรมของกรมพินิจฯ แลว มีปจจัยแวดลอม
                       และมูลเหตุจูงใจอยางไรที่เปนผลใหเด็กและเยาวชนดังกลาวตองเขาสูวังวนของการกระทําผิดกฎหมาย

                       เพื่อหามาตรการหรือแนวทางในการปองกันและแกไขปญหา รวมถึงการสงเคราะหใหความชวยเหลือ
                       ที่เหมาะสมแกเด็กและเยาวชนใหสามารถดําเนินชีวิตในสังคมไดอยางปกติสุขและสรางสรรค (อยูในหมวด ๗
                       การเตรียม ความพรอมกอนปลอยและการติดตามภายหลังปลอยจากสถานที่ควบคุม มาตรา ๕๐ - มาตรา ๕๙)

                                     [ ขอเสนอแนะนี้สอดคลองกับอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (CRC) ค.ศ ๑๙๘๙ ขอ ๔๐

                       วรรคแรก ที่กําหนดวา “การปฏิบัติตอเด็กจะตองเคารพตอศักดิ์ศรีและคุณคาของเด็ก ฯลฯ คํานึงถึงอายุ
                       ของเด็ก และการนําเด็กกลับคืนสูสังคม (reintegration)” และยังสอดคลองกับกฎอันเปนมาตรฐานขั้นต่ํา
                       ของสหประชาชาติ วาดวยการบริหารงานยุติธรรมเกี่ยวแกคดีเด็กและเยาวชน (The Beijing Rules)
                       ขอ ๓๐ ซึ่งกําหนดไวดังนี้ “การวิจัยเปนรากฐานของการวางแผน วางนโยบาย และประเมินผล (๑) ควรจัด

                       องคกรและสนับสนุนการวิจัยที่จําเปนตอประสิทธิผลของการวางแผน และการวางนโยบาย (๒) ควรจัดให
                       มีการทบทวนและประเมินผลเปนครั้งคราวในเรื่องของแนวโนมปญหา สาเหตุแหงการกระทําผิดของเด็ก
                       และเยาวชนในระหวางที่ถูกควบคุม (๓) ควรจัดใหมีกลไกการวิจัยในดานการประเมินผล ใหอยูภายใน
                       ระบบของการบริหารงานยุติธรรมเกี่ยวแกคดีเด็กและเยาวชน รวบรวมและวิเคราะหขอมูล ขาวสาร

                       ที่เกี่ยวของเพื่อการประเมินผลที่เหมาะสม และเพื่อการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการบริหารงานในอนาคต” ]

                                     ๒.๔.๓ กรณีทะเบียนประวัติของเด็กและเยาวชนที่กระทําผิด ตามรางมาตรา ๕๕ (๔)
                       ไดระบุใหสถานพินิจหรือศูนยฝกและอบรมจัดสงประวัติเด็กและเยาวชนไปยังสํานักงานตํารวจแหงชาติ
                       เพื่อดําเนินการเกี่ยวกับทะเบียนประวัติของเด็กและเยาวชน ซึ่งไมไดระบุใหชัดเจนวาการดําเนินการ
                       ดังกลาวกระทําเพื่อวัตถุประสงคใด ซึ่งอาจไมสอดคลองกับขอ ๒๑ ของกฎแหงกรุงปกกิ่ง (The Beijing

                       Rules) หรือกฎอันเปนมาตรฐานขั้นต่ําของสหประชาชาติวาดวยการบริหารงานยุติธรรมสําหรับคดีเด็ก
                       และเยาวชน ที่กําหนดวา “ประวัติของผูกระทําผิดที่เปนเด็กและเยาวชนควรเก็บเปนความลับ และไมควร
                       ถูกใชในขั้นตอนการดําเนินคดีสําหรับบุคคลคนเดียวกันที่กระทําผิดเมื่อเติบโตเปนผูใหญ”

                                     [ ขอเสนอแนะดังกลาวสอดคลองกับอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ค.ศ ๑๙๘๙ (CRC) ขอ ๓
                       วรรคแรก ที่กําหนดวา “ในการกระทําทั้งปวงที่เกี่ยวกับเด็ก ไมวาจะกระทําโดยสถาบันทางสังคม
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52