Page 54 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 54

๕๒



                                              บันทึกความเห็นทางกฎหมาย
                                ตอรางพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่..) พ.ศ. ....





               ๑. ความเปนมา
                             กระทรวงมหาดไทยมีหนังสือที่ มท ๐๓๐๙/๐๘๙๙๐ ลงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐

               เรื่องการแกไขปรับปรุงพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ ขอใหสํานักงานคณะกรรมการ
               สิทธิมนุษยชนแหงชาติใหความเห็นหรือขอเสนอแนะเกี่ยวกับรางรางพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร
               (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ซึ่งในบันทึกความเห็นจะศึกษาในประเด็นดานสิทธิมนุษยชน โดยแบงเปน ๒ สวน คือ
                             - ความเห็นตอหลักการและเหตุผลประกอบรางพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร

                               (ฉบับที่..) พ.ศ. ....
                             - ความเห็นตอบทบัญญัติแหงรางพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่..) พ.ศ. ....
               ๒. ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ
                             ๒.๑ ความเห็นตอหลักการและเหตุผลประกอบรางพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร

               (ฉบับที่..) พ.ศ. ....

                             รางบันทึกหลักการและเหตุผลประกอบความเห็นตอหลักการและเหตุผลประกอบ
               รางพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่..) พ.ศ. .... อธิบายหลักการแกไขเพิ่มเติมกฎหมายนี้
               ในประเด็นเกี่ยวกับบทนิยามคําวา “บาน” การเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร ฐานขอมูลทะเบียนราษฎร
               การกําหนดใหเลขประจําตัวประชาชนสําหรับบุคคลบางกลุม การจดทะเบียนการเกิดสําหรับเด็กซึ่งถูกทอดทิ้ง

               เด็กเรรอน เด็กที่ไมปรากฏบุพการี การทะเบียนราษฎรในตางประเทศ การแจงยายที่อยู และการกําหนด
               เลขประจําบาน เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร รองรับเรื่องการจัดการประชากรของ
               ประเทศไทยในประชาคมอาเซียน อํานวยความเปนธรรมและอํานวยความสะดวกใหแกประชาชนยิ่งขึ้น

               แกไขปญหาการจดทะเบียนการเกิดของเด็กไรรากเหงาและแกไขปญหาการแจงยายที่อยู รวมถึงการกําหนด
               เลขประจําบาน

                             พิจารณาหลักการและเหตุผลขางตนโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการแกปญหาเกี่ยวกับสถานะ
               บุคคลและสิทธิของเด็กที่ถูกทอดทิ้ง เด็กเรรอน และเด็กไมปรากฏบุพการี ซึ่งเปนกลุมเด็กไรรากเหงา

               ไมสามารถพิสูจนสถานะ การเกิดได เห็นวาสอดคลองกับหลักการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนแกเด็ก
               ไรสถานะบุคคล ทั้งยังสอดคลองกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
               มาตรา ๔ ซึ่งกําหนดวา ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาคของบุคคลยอมไดรับ

               การคุมครอง กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ขอ ๒๔ ซึ่งกําหนดวาเด็ก
               ทุกคนตองไดรับการจดทะเบียนทันทีภายหลังการเกิดและมีสิทธิที่จะไดมาซึ่งสัญชาติ และอนุสัญญาวาดวย
               สิทธิเด็ก ขอ ๓ ซึ่งกําหนดวาในการกระทําทั้งปวงเกี่ยวกับเด็ก ไมวาจะกระทําโดยสถาบันทางสังคมสงเคราะห

               ของรัฐหรือเอกชน ศาลยุติธรรม หนวยงานฝายบริหาร หรือองคกรนิติบัญญัติ จะตองคํานึงถึงผลประโยชน
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59