Page 49 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 49

๔๗



                                                     บันทึกความเห็นทางกฎหมาย
                                         ตอรางพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. ....
                                            และรางพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. ....”





                       ๑. ความเปนมา

                                     กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช ไดมีหนังสือ ดวนที่สุด ที่ ทส ๐๙๐๓.๒/๑๐๗๕๙

                       ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ขอใหสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติรวมแสดงความคิดเห็น
                       ตอรางกฎหมายจํานวน ๒ ฉบับ ไดแก “รางพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. ....”
                       และ “รางพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. ....” ทั้งนี้ ตามบทบัญญัติมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญ
                       แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยรางพระราชบัญญัติฯ สองฉบับนี้ อยูระหวางการตรวจ
                       พิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา


                                     บันทึกความเห็นนี้ประกอบดวยเนื้อหา ดังนี้

                                     ๑. หลักการสิทธิมนุษยชนและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

                                     ๒. ความเห็นประเด็นสิทธิมนุษยชนตอรางกฎหมาย ๒ ฉบับ

                       ๒. ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ

                                 ๒.๑ หลักการสิทธิมนุษยชนและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

                                     รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๘ และ กติการะหวาง
                       ประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political
                       Rights) หรือ ICCPR ขอ ๖ ไดรับรองสิทธิในชีวิต ประกอบกับรัฐธรรมนูญ หมวด ๕ หนาที่ของรัฐ และ
                       กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม International Covenant

                       on Economic Social and Cultural Rights (ICESCR) ขอ ๑๑ ไดรับรองขอผูกพันของรัฐในการสงเสริม
                       ใหบุคคลเขาถึงสิทธิในการมีมาตรฐานการครองชีพอยางเพียงพอ อันรวมถึงอาหาร ที่อยูอาศัย
                       สภาพแวดลอมที่ดีตอสุขภาพ การพัฒนาและการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้
                       รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๔๓ (๒) ไดรับรองสิทธิของบุคคลและชุมชน

                       ในการจัดการ บํารุงรักษาและใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ความหลากหลาย
                       ทางชีวภาพ และมาตรา ๕๗ (๒) บัญญัติวา รัฐมีหนาที่อนุรักษ คุมครอง บํารุงรักษาฟนฟู ใชหรือจัดใหมี
                       การใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยตองใหประชาชนและ

                       ชุมชนมีสวนรวมการดําเนินการที่อาจมีผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดลอม รัฐตองใหมี
                       การศึกษาและการประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพ และจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็น
                       (มาตรา ๕๘)

                                     ในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติควบคูกับการคุมครองสิทธิมนุษยชน และคณะมนตรี
                       สิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ (Human Rights Council) ในคราวประชุมสมัยที่ ๓๔ เมื่อวันที่
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54