Page 52 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 52
๕๐
มาตรา ๕๘ 41 มีการเพิ่มเติมหมวด ๓ วาดวยการใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเปน
เรื่องที่บัญญัติขึ้นใหม มีความเกี่ยวของกับพันธกรณีระหวางประเทศ ดังนี้ ๑. อนุสัญญาวาดวย
42
ความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity: CBD) ๒. อนุสัญญาสหประชาชาติ
วาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate
44
Change) 43 ๓. อนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิดสัตวปาและพืชปาที่ใกลสูญพันธุ และ
๔. พิธีสารนาโงยา 45
เมื่อพิจารณารางพระราชบัญญัติฯ ทั้งสองฉบับแลวเห็นวา มีความพยายามแกไข
เพิ่มเติมบทบัญญัติใหสอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ อยูบาง
โดยเฉพาะการกําหนดใหชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสวนรวมดูแล อนุรักษสัตวปาและอุทยาน
และเมื่อเปรียบเทียบกับหลักการดานสิทธิมนุษยชนที่รับรองไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ และพันธกรณีระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน มีขอสังเกต ดังนี้
๑. เนื่องจากรางกฎหมายทั้งสองฉบับมีผลเปนการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
จึงอาจตองดําเนินการตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖ กลาวคือ
41 มาตรา ๕๘ การดําเนินการใดของรัฐหรือที่รัฐจะอนุญาตใหผูใดดําเนินการ ถาการนั้นอาจมีผลกระทบตอ
ทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดลอม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต หรือสวนไดเสียสําคัญอื่นใดของประชาชนหรือชุมชนหรือสิ่งแวดลอม
อยางรุนแรง รัฐตองดําเนินการ ใหมีการศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนหรือชุมชน และจัดใหมี
การรับฟงความคิดเห็นของผูมีสวนไดเสียและประชาชนและชุมชนที่เกี่ยวของกอน เพื่อนํามาประกอบการพิจารณาดําเนินการหรืออนุญาต
ตามที่กฎหมายบัญญัติ
บุคคลและชุมชนยอมมีสิทธิไดรับขอมูล คําชี้แจง และเหตุผลจากหนวยงานของรัฐ กอนการดําเนินการหรืออนุญาต
ตามวรรคหนึ่ง
ในการดําเนินการหรืออนุญาตตามวรรคหนึ่ง รัฐตองระมัดระวังใหเกิดผลกระทบตอ ประชาชน ชุมชน สิ่งแวดลอม และ
ความหลากหลายทางชีวภาพนอยที่สุด และตองดําเนินการใหมีการ เยียวยาความเดือดรอนหรือเสียหายใหแกประชาชนหรือชุมชนที่ไดรับ
ผลกระทบอยางเปนธรรมและ โดยไมชักชา
42 อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity: CBD) ประเทศไทย
ลงนามในอนุสัญญาเมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๕ แตยังไมไดใหสัตยาบันเขาเปนภาคี และอนุสัญญามีผลบังคับใชเมื่อ ๒๙ ธันวาคม
พ.ศ. ๒๕๓๖ เปนขอตกลงดานสิ่งแวดลอมระหวางประเทศที่มีเจตนารมณใหรัฐบาลทุกประเทศพัฒนาประเทศโดยไมละเลยการอนุรักษ
สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีการกําหนดวัตถุประสงคหลักไว คือเพื่ออนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อใชประโยชนจาก
ความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน และเพื่อแบงปนผลประโยชนที่ไดจากการใชทรัพยากรพันธุกรรมอยางเทาเทียมและยุติธรรม
43 อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention
on Climate Change) หรือ อนุสัญญา UNFCCC หรือที่รูจักกันในนามของ Earth Summit ณ นครริโอเดอจาเนโร สหพันธสาธารณรัฐ
บราซิล มีผลบังคับใชตั้งแต ๒๑ มีนาคม ๒๕๓๗ (ค.ศ. ๑๙๙๔) ประเทศไทยไดใหสัตยาบันเขารวมเปนรัฐภาคีอนุสัญญาเมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม
๒๕๓๗ และสงผูแทนประเทศเขารวมการประชุมสมัชชารัฐภาคีอนุสัญญาฯ (Conference of the Parties) หรือ COP ตลอดมา
44 อนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิดสัตวปาและพืชปาที่ใกลสูญพันธุ (The Convention on
International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora) หรือไซเตส (CITES) ประเทศไทยไดสงผูแทนเขารวมประชุมและ
รับรองอนุสัญญาในป พ.ศ.๒๕๑๘และไดใหสัตยาบันในวันที่ ๒๑มกราคม พ.ศ.๒๕๒๖โดยเปนสมาชิกอันดับที่ ๘๐ในวันที่ ๒๓มกราคม พ.ศ.๒๕๒๗
45 พิธีสารนาโงยา วาดวยการเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรมและการแบงปนผลประโยชนที่เกิดขึ้นจากการใชประโยชนทรัพยากร
พันธุกรรมอยางเทาเทียมและยุติธรรม (The Nagoya Protocol on Access to Genetic Resources and the Fair and Equitable
Sharing of Benefits) ประเทศไทยโดยลงนามรับรองพิธีสารนาโงยาฯ เมื่อวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๕ ขอกําหนดหลักจะเนนในเรื่องของ
การแบงปนผลประโยชน การเขาถึงทรัพยากรพันธุกรรมและภูมิปญญาทองถิ่นที่เกี่ยวของ