Page 46 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 46

๔๔



                             ๒.๒ สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติการบริหารการแกไขบําบัดฟนฟูเด็ก
               และเยาวชนที่กระทําความผิด พ.ศ. .... มีจํานวนทั้งสิ้น ๖๐ มาตรา แบงเปน ๘ หมวด รายละเอียด

               ปรากฏในรางพระราชบัญญัติตามที่แนบ
                              ๒.๓ ความคิดเห็นของผูเขารวมประชุม


                             ผูเขารวมประชุมไดมีความเห็นตอรางพระราชบัญญัตินี้ ดังมีประเด็นโดยสรุปดังนี้
                              ๒.๓.๑ รางพระราชบัญญัติฉบับนี้ยังไมครอบคลุมการดําเนินการกับเด็กและเยาวชน

               ที่เปนคนตางดาวที่มากระทําความผิดในประเทศไทยและถูกจับกุมดําเนินคดีตอศาลเยาวชนและครอบครัว
               ซึ่งในทางปฏิบัติ ศาลจะสงเด็กและเยาวชนเหลานั้นมาฝกอบรมกับศูนยฝกและอบรมของกรมพินิจฯ
               จากนั้นกรมพินิจฯ จะประสานงานกับสํานักงานตรวจคนเขาเมืองเพื่อสงตัวกลับประเทศตามกฎหมาย

               วาดวยคนเขาเมืองตอไป
                             ๒.๓.๒ ควรจัดสถานที่ควบคุมเด็กและเยาวชนที่มีความประพฤติเสียหายอยางรายแรง

               อันจะเปนภัยตอเด็กและเยาวชนอื่นซึ่งไมใชเรือนจํา เนื่องจากการนําตัวเยาวชนไปฝากควบคุมตัวในเรือนจํา
               สําหรับผูตองขังที่เปนผูใหญ อาจกระทบตอสวัสดิภาพและสิทธิของเด็กและเยาวชนได

                              นอกจากนี้ควรมีขอกําหนดหรือมาตรฐานที่ประกันวาเด็กและเยาวชนที่ถูกควบคุมตัว
               จะเขาถึงสิทธิขั้นพื้นฐาน ไดแก การรักษาพยาบาล การไดรับการศึกษา รวมทั้งควรมีขอกําหนดเกี่ยวกับ

               การรับตัวและดูแลบุตรที่ติดมากับเด็กและเยาวชนที่ถูกควบคุมตัว

                              ๒.๔ ประเด็นที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน

                              เมื่อพิจารณารางพระราชบัญญัตินี้ โดยเทียบกับอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (CRC)
               และกฎอันเปนมาตรฐานขั้นต่ําของสหประชาชาติวาดวยการบริหารงานยุติธรรมเกี่ยวแกคดีเด็กและ
               เยาวชน (The Beijing Rules) แลวเห็นวา มีบางประเด็นที่อาจไมสอดคลองกัน ดังนี้

                             ๒.๔.๑ รางพระราชบัญญัติฉบับนี้ไมไดระบุถึงมาตรฐานขั้นต่ําในการดูแลดานสุขอนามัย
               ของเด็กและเยาวชนเพศหญิงที่อยูในสถานพินิจฯ สถานที่ควบคุม หรือศูนยฝกและอบรม การจัดสิ่งของ

               ที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับเพศหญิง รวมถึงหลักประกันความเทาเทียมทางเพศ จึงมีขอเสนอแนะวา
               ควรเพิ่มเติมบทบัญญัติที่ประกันวาผูถูกควบคุมที่เปนเด็กและเยาวชนหญิงจะไดรับการดูแลและจัดสิ่งจําเปน
               ที่สอดคลองกับความตองการพิเศษของเพศหญิง รวมถึงหลักประกันวาผูถูกควบคุมที่เปนเด็กและเยาวชน

               หญิงจะไดรับการปฏิบัติอยางเสมอภาคกับเด็กและเยาวชนชาย (อยูในหมวด ๕ การแกไขบําบัดฟนฟู
               และการฝกอบรม มาตรา ๒๙ - มาตรา ๓๖ และหมวด ๖ สวนที่ ๒ สุขอนามัยของเด็กและเยาวชน มาตรา
               ๔๒ - มาตรา ๔๕)

                             [ ขอสังเกตและขอเสนอแนะดังกลาวสอดคลองกับอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (CRC)
               ค.ศ ๑๙๘๙ ขอ ๔๐ วรรค ๔ ที่กําหนดวา “การดําเนินการตางๆ เชน คําสั่งใหมีการดูแล แนะแนว

               และควบคุม การใหคําปรึกษา การภาคทัณฑ การอุปการะดูแล แผนงาน การศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพ
               และทางอื่น นอกเหนือจากการใหสถาบันเปนผูดูแล จะตองมีไวเพื่อประกันวาเด็กจะไดรับการปฏิบัติ
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51