Page 19 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 19

๑๗



                       สันนิษฐานใหกรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคล
                       ตองรับโทษทางอาญารวมกับการกระทําความผิดของนิติบุคคล ซึ่งไดนํารายชื่อกฎหมายที่มีบทบัญญัติ

                       ในลักษณะที่ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญในทํานองดังกลาวมาระบุไวในมาตรา ๓ ของพระราชบัญญัตินี้
                       โดยบัญญัติใหยกเลิกเนื้อความในมาตราเดิมของกฎหมายทั้ง ๗๖ ฉบับ และใหใชเนื้อความใหมตามที่
                       ปรากฏในบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้แทน

                                     พิจารณาหลักการและเหตุผลของพระราชบัญญัติฉบับนี้แลวเห็นวา เปนการบัญญัติ
                       กฎหมายระดับพระราชบัญญัติขึ้นมาประกาศใชใหมีผลเปนการแกไขกฎหมายอื่น ระดับประมวลกฎหมาย

                       พระราชบัญญัติ และพระราชกําหนด รวม ๗๖ ฉบับ ที่เกี่ยวของกับความรับผิดในทางอาญาของผูแทน
                       นิติบุคคล เฉพาะในสวนที่สันนิษฐานใหกรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการ
                       ดําเนินงานของนิติบุคคล ตองรับโทษทางอาญารวมกับการกระทําความผิดของนิติบุคคล โดยนํารายชื่อ
                       กฎหมายที่มีบทบัญญัติในลักษณะที่ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญในทํานองดังกลาวมาระบุไวใน
                       พระราชบัญญัติฉบับนี้ฉบับเดียว ซึ่งมีเพียง ๓ มาตรา โดยบัญญัติความในมาตรา ๓ ใหมีผลเปนการแกไข

                       ขอความในมาตราเดิมของกฎหมายที่มีปญหาทั้ง ๗๖ ฉบับ โดยยกเลิกขอความในมาตราเดิมของกฎหมาย
                       ดังกลาวและใหใชขอความใหมตามที่ปรากฏในบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้ เพื่อมิใหขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ
                       ตามแนวคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ที่ ๑๒/๒๕๕๕ ที่ ๕/๒๕๕๖ ที่ ๑๐/๒๕๕๖ ที่ ๑๑/๒๕๕๖ และที่

                       ๑๙ - ๒๐/๒๕๕๖ ถือเปนการแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแหงกฎหมายในเชิงเทคนิคปกติ ตามอํานาจหนาที่
                       ของสภานิติบัญญัติแหงชาติ โดยรวมการพิจารณาแกไขกฎหมายที่มีเนื้อความและหลักการที่ขัดหรือแยง
                       ตอรัฐธรรมนูญไวในพระราชบัญญัติฉบับนี้ฉบับเดียว โดยคณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติแหงชาติไมตอง
                       ยุงยากและเสียเวลาในกระบวนการทางนิติบัญญัติในการพิจารณารางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติม

                       บทบัญญัติแหงกฎหมายทีละฉบับ จํานวน ๗๖ ฉบับ ซึ่งตองประกาศในราชกิจจานุเบกษา ประมาณจํานวน
                       ๗๖ ครั้ง

                                     นอกจากนี้ พระราชบัญญัติฉบับนี้มีเหตุผลในการประกาศใช เพื่อแกไขหลักความรับผิด
                       ในทางอาญาของผูแทนนิติบุคคล เฉพาะในสวนที่สันนิษฐานใหกรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือบุคคลใด
                       ซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคล ตองรับโทษทางอาญารวมกับการกระทําความผิดของนิติบุคคล

                       ใหสอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๓๙ วรรคสอง ปฏิญญาสากล
                       วาดวยสิทธิมนุษยชน ขอ ๑๑ และกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
                       ขอ ๑๔.๒ อันถือเปนหลักการพื้นฐานของระบบงานยุติธรรมทางอาญาสากลที่วา บุคคลทุกคนมิใชผูกระทํา

                       ความผิดอาญาเพื่อเปนหลักประกันแหงสิทธิและเสรีภาพของบุคคลเกี่ยวกับความรับผิดทางอาญาที่รัฐ
                       ใหการรับรองแกบุคคลทุกคนที่จะไมถูกลงโทษทางอาญา จนกวาจะมีพยานหลักฐานมาพิสูจนไดวา
                       เปนผูกระทําความผิด และเปนหลักการที่สําคัญประการหนึ่งของหลักนิติธรรม (The Rule of Law) ที่ไดรับ
                       การยอมรับในนานาอารยประเทศ ซึ่งเปนไปตามคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญดังที่ไดกลาวแลวขางตน
                       จึงเห็นวา พระราชบัญญัติฉบับนี้มีหลักการและเหตุผลที่สอดคลองกับหลักสิทธิมนุษยชน หลักนิติธรรม

                       และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ตามขอเท็จจริงและเหตุผลดังกลาวแลว
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24