Page 21 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 21

๑๙



                       พยานหลักฐานตามสมควรในเบื้องตนวาบุคคลนั้นไดกระทําการหรือมีเจตนาประการใดอันเกี่ยวกับ
                       ความผิดตามที่ถูกกลาวหา บทบัญญัติของกฎหมายดังกลาวในสวนที่สันนิษฐานความผิดอาญาของผูตองหา

                       หรือจําเลยโดยไมปรากฏวาผูตองหาหรือจําเลยไดกระทําการหรือมีเจตนาประการใดเกี่ยวกับความผิดนั้น
                       จึงขัดตอหลักนิติธรรมและขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
                       มาตรา ๓๙ วรรคสอง

                                     พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแหงกฎหมายที่เกี่ยวกับความรับผิด
                       ในทางอาญาของผูแทนนิติบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๐ จึงไดบัญญัติขึ้นมาแกไขหลักความรับผิดทางอาญา

                       ของผูแทนนิติบุคคลเสียใหม โดยยกเลิกบทสันนิษฐานความรับผิดของกรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือ
                       บุคคลที่รับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคลในกฎหมายทั้ง ๗๖ ฉบับ ใหมีเนื้อความใหมในบทมาตรา
                       เดิมของกฎหมายดังกลาว โดยมีสาระสําคัญที่สอดคลองกันทั้ง ๗๖ ฉบับ ในทํานองที่วา “ในกรณีที่
                       ผูกระทําความผิดเปนนิติบุคคล ถาการกระทําความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิดจากการสั่งการหรือ
                       การกระทําของกรรมการผูจัดการ หรือผูจัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงาน

                       ของนิติบุคคลนั้น หรือในกรณีที่บุคคลดังกลาวมีหนาที่ตองสั่งการหรือกระทําการและละเวนไมสั่งการ
                       หรือไมกระทําการจนเปนเหตุใหนิติบุคคลนั้นกระทําความผิด ผูนั้นตองรับโทษตามที่บัญญัติไวสําหรับ
                       ความผิดนั้นๆ ดวย”

                                     พิจารณาเนื้อหาของพระราชบัญญัติฉบับนี้แลวเห็นวา มีสาระสําคัญที่ระบุถึงการกระทํา

                       ที่เปนองคประกอบความผิดทางอาญาของผูที่เปนกรรมการผูจัดการ หรือผูจัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบ
                       ในการดําเนินงานของนิติบุคคลนั้น ซึ่งเปนผูมีอํานาจกระทําการผูกพันนิติบุคคลตามกฎหมายแพง จะตอง
                       รับผิดทางอาญาตอเมื่อ มีการกระทําการหรือมีการสั่งการอยางใดอยางหนึ่งจนเปนเหตุใหนิติบุคคลกระทํา
                       ความผิดอาญา หรือละเวนไมสั่งการหรือไมกระทําการอยางใดอยางหนึ่งในกรณีที่มีบทบัญญัติ

                       ของกฎหมายนั้นกําหนดใหกรรมการผูจัดการ หรือผูจัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงาน
                       ของนิติบุคคลนั้น มีหนาที่ตองสั่งการ หรือกระทําการอยางใดเพื่อมิใหนิติบุคคลกระทําความผิดอาญา
                       ซึ่งการบัญญัติถึงสาระสําคัญเชนนี้เปนการบัญญัติถึงการกระทําที่เปนความผิดโดยชัดแจง ที่มิใชขอ
                       สันนิษฐานความรับผิดตามกฎหมายอยางที่ไดบัญญัติไวเดิมในกฎหมาย ๗๖ ฉบับ มีผลทําใหภาระการพิสูจน

                       ความบริสุทธิ์หรือความผิดของผูตองหาหรือจําเลย เปนหนาที่ของโจทกที่จะตองนําพยานหลักฐานมา
                       นําสืบใหศาลสิ้นสงสัยวาจําเลยเปนผูกระทําการอยางใดหรือละเวนกระทําการอยางใดตามที่กฎหมาย
                       บัญญัติไวชัดแจงวาเปนความผิด ซึ่งเปนไปตามหลักการพื้นฐานของระบบงานยุติธรรมทางอาญาสากล
                                                                                                   14
                       และสอดคลองตามหลักทั่วไปในประมวลวิธีพิจารณาความอาญาของไทย มาตรา ๒๒๗ กลาวคือ
                       นอกจากโจทกจะตองพิสูจนวานิติบุคคลกระทําความผิดตามที่กฎหมายบัญญัติไว และจําเลยเปนกรรมการ
                       ผูจัดการ หรือผูจัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคลนั้นแลว โจทกยังตอง
                       พิสูจนถึงการกระทําของจําเลยซึ่งเปนบุคคลดังกลาว ทั้งตองมีพยานหลักฐานตามสมควรในเบื้องตนวา
                       บุคคลนั้นไดกระทําการหรือมีเจตนาประการใดอันเกี่ยวกับความผิดตามที่ถูกกลาวหา อันเปนการคุมครอง



                                     14  ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๒๗ บัญญัติไววา “ใหศาลใชดุลพินิจวินิจฉัยชั่งน้ําหนัก
                       พยานหลักฐานทั้งปวง อยาพิพากษาลงโทษจนกวาจะแนใจวามีการกระทําผิดจริงและจําเลยเปนผูกระทําความผิดนั้น
                                      เมื่อมีความสงสัยตามสมควรวาจําเลยไดกระทําผิดหรือไม ใหยกประโยชนแหงความสงสัยนั้นใหจําเลย”
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26