Page 15 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 15

๑๓



                       จึงควรพิจารณาแกไขเพิ่มเติมใหมีความขัดเจนวาตําแหนงลักษณะใดที่เมื่อคํานึงถึงบทบาท อํานาจหนาที่
                       ทั้งในเชิงรูปแบบและเนื้อหาแลวจําเปนที่จะตองนํามาพิจารณาวามีการกระทําความผิด

                                        1.5 มาตรา ๕ วรรคสี่ เห็นวา นอกจากใหนําขอหามเกี่ยวกับการเขาไปมีสวนไดเสีย
                       เพื่อประโยชนของตนเองหรือบุคคลอื่นซึ่งเปนการขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลกับประโยชนสวนรวม

                       มาใชบังคับกับคูสมรสหรือบุตรของเจาหนาที่ของรัฐแลว เห็นควรใหบังคับครอบคลุมไปถึงญาติของ
                       เจาหนาที่ของรัฐดวย

                                        1.6 มาตรา ๕ วรรคทาย ที่กําหนดใหการออกระเบียบวาดวยการอนุญาตใหใช
                       ทรัพยสิน ตามมาตรา ๕ วรรคสอง (๕) โดยคณะรัฐมนตรี คณะกรรมการขาราชการรัฐสภา คณะกรรมการ
                       บริหารศาล องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ หรือหัวหนาหนวยงานอื่นของรัฐ เห็นวา ในทางปฏิบัติ

                       เมื่อกฎหมายมีผลใชบังคับ หนวยงานดังกลาวอาจยังไมกลากําหนดระเบียบภายในหนวยงานของตน
                       จนกวาคณะรัฐมนตรีจะกําหนดระเบียบออกใชบังคับกอน หรืออาจทําใหการกําหนดระเบียบของแตละ
                       หนวยงานมีความแตกตางกันจนทําใหเกิดความไมเปนธรรมระหวางหนวยงานตางๆ ที่ปฏิบัติแตกตางกัน

                                        1.7 มาตรา 10 ที่กําหนดใหมีการระงับหรือยับยั้งความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นแกรัฐ

                       จากการตรวจรางสัญญาของรัฐทั้งสัญญาทางแพงหรือสัญญาทางปกครอง เนื่องจากมีเหตุอันควรเชื่อวา
                       สัญญาดังกลาวกระทําโดยเจาหนาที่ของรัฐโดยทุจริตหรือลักษณะเปนการขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคล
                       กับประโยชนสวนรวม ซึ่งอาจมีผลทําใหรัฐเสียประโยชนอยางรายแรง หรือการทุจริตหรือการขัดกัน
                       ระหวางประโยชนดังกลาวมีลักษณะเปนนัยสําคัญ เห็นวา บทบัญญัตินี้อาจมีปญหาดานการตีความของ

                       ถอยคํา กลาวคือ คําวา “นัยสําคัญ” ที่ไมมีการนิยามความหมายหรือเงื่อนไขการพิจารณาวาการทุจริต
                       หรือการขัดกันระหวางประโยชนรูปแบบใดที่จะถือวาเปนลักษณะที่เปนนัยสําคัญ ซึ่งอาจสงผลใหเกิดการใช
                       ดุลพินิจและการตีความระงับหรือยับยั้งการรางสัญญาที่เกินกวาเจตนารมณแหงกฎหมาย นอกจากนี้
                       ความไมชัดเจนดังกลาวอาจสงผลใหดําเนินการของรัฐที่เกี่ยวของกับสัญญาดังกลาวไมอาจบรรลุวัตถุประสงค

                       ในระยะเวลาที่เหมาะสมได

                                        ดังนั้น ในสวนภาพรวมของรางพระราชบัญญัติฉบับนี้ เห็นวา ควรพิจารณาโดยอาศัย
                       หลักการวิเคราะหผลกระทบของกฎหมาย (RIA) ประกอบ โดยเห็นวากฎหมายฉบับนี้อาจสงผลตอ
                       การปฏิบัติงานของเจาหนาที่หนวยงานของรัฐในแงทําใหเกิดความกังวลใจและไมมั่นใจในการปฏิบัติงาน
                       จนสงผลกระทบตอประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงานได เนื่องจากรางพระราชบัญญัติฉบับนี้

                       มีจุดประสงคที่จะปองกันการทุจริตและสรางความโปรงใสในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของรัฐอยางเต็มที่
                       จึงอาจมิไดพิจารณาถึงผลกระทบในดานประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของรัฐเทาที่ควร

                       3. รางพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารสาธารณะ พ.ศ. ....

                                     1) เกี่ยวกับหลักการของรางพระราชบัญญัติ

                                        เห็นดวยกับหลักการของรางพระราชบัญญัติเนื่องจากเปนการบัญญัติหลักการดาน
                       การคุมครองสิทธิของบุคคลดานตางๆ ไว เชนเดียวกับที่เคยบัญญัติรับรองคุมครองไวในพระราชบัญญัติ
                       ขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20