Page 16 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 16

๑๔



                             2) เกี่ยวกับบทบัญญัติในรางพระราชบัญญัติ

                                2.1 มาตรา 4 ควรเพิ่มบทนิยาม “ขอมูลขาวสาร” เชนเดียวกับที่เคยบัญญัติไว
               ในมาตรา 4 แหงพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 วา ““ขอมูลขาวสาร”
               หมายความวา สิ่งที่สื่อความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง ขอมูล หรือสิ่งใดๆ ไมวาการสื่อความหมายนั้น

               จะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผานวิธีการใดๆ และไมวาจะไดจัดทําไวในรูปของเอกสาร
               แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดย
               เครื่องคอมพิวเตอร หรือวิธีอื่นใด ที่ทําใหสิ่งที่บันทึกไวปรากฏได”

                                2.2 หมวด 9 การวินิจฉัยคําอุทธรณการเปดเผยขอมูลขาวสาร ควรแกเปน
               “การอุทธรณ และการวินิจฉัยคําอุทธรณการเปดเผยขอมูลขาวสาร” โดยยายหลักเกณฑวิธีการและ

               ระยะเวลาในการยื่นอุทธรณคําสั่งไมเปดเผยขอมูลขาวสาร ตามรางมาตรา 20 ในหมวด 4 มาเปน
               บทบัญญัติแรกในหมวดนี้

                              3) ประเด็นดานการคุมครองสิทธิความเปนสวนตัวในขอมูลสวนบุคคล

                                การที่รางพระราชบัญญัติฉบับนี้ กําหนดวัตถุประสงคโดยคํานึงถึงความสมดุลระหวาง
               ประโยชนสาธารณะและสิทธิของบุคคลในขอมูลสวนบุคคล (มาตรา ๖ (๔)) เห็นวาเปนการกําหนดแนวทาง

               การใชบังคับที่ใหคํานึงถึงสิทธิในความเปนสวนตัวของบุคคลในหมวด ๕ วาดวยขอมูลสวนบุคคล โดยความ
               ในหมวด ๕ วาดวยขอมูลสวนบุคคลนั้น มีการนําหลักการสําคัญเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล
               มาบัญญัติไวคอนขางรอบดาน ครอบคลุมกระบวนเก็บ ใช และเปดเผยขอมูลสวนบุคคล อยางไรก็ตาม
               ในบัญญัติหมวด ๕ นี้ มีความเห็นเพิ่มเติม ไดแก

                                3.1 ความคุมครองขอมูลสวนบุคคล เปนความสัมพันธระหวางรัฐกับเอกชน

               โดยไมรวมถึงความสัมพันธระหวางเอกชน กับเอกชน ดังนั้น เพื่อเปนการคุมครองขอมูลสวนบุคคล
               ใหเกิดขึ้นจริงเปนการทั่วไปอันครอบคลุมถึงความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชน และสอดคลองกับ
               การรับรองสิทธิในความเปนสวนตัวในกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
               และรัฐธรรมนูญ รัฐบาลควรพิจารณาเรงรัดการตราและบังคับใชกฎหมายวาดวยการคุมครองขอมูล

               สวนบุคคล

                                3.2 การเก็บขอมูลสวนบุคคล ตามมาตรา ๒๔ วรรคสอง กําหนดใหมีการแจงใหทราบ
               ลวงหนา หรือแจงและขอขอมูลพรอมทั้งแจงวัตถุประสงค เห็นวา มีความแตกตางจากแนวทางการเก็บ
               ขอมูลสวนบุคคลตามรางพระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. .... (ผานการตรวจพิจารณาของ
               คณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 1135/2558) มาตรา ๑๗, ๒๐ และ ๒๑ ที่กําหนดใหการเก็บ

               ขอมูลสวนบุคคลจะกระทําไมได เวนแตไดรับความยินยอม โดยการขอความยินยอมนั้นตองแจงสิทธิ
               ของเจาของขอมูลสวนบุคคลใหเจาของขอมูลสวนบุคคลทราบดวย ดังนั้น ควรพิจารณาแกไขเพิ่มเติม
               การเก็บขอมูลสวนบุคคลตามมาตรา ๒๔ วรรคสอง ใหคํานึงถึงการขอความยินยอม การแจงวัตถุประสงค

               และการแจงสิทธิของเจาของขอมูลสวนบุคคลไปในคราวเดียวกัน
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21