Page 18 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 18

๑๖



                                              บันทึกความเห็นทางกฎหมาย
                                   ตอพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแหงกฎหมาย
                              ที่เกี่ยวกับความรับผิดในทางอาญาของผูแทนนิติบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๐



               ๑. ความเปนมา

                             สํานักกฎหมายและคดีไดรับมอบหมายใหศึกษาและจัดทําความเห็นเบื้องตนตอ
               พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแหงกฎหมายที่เกี่ยวกับความรับผิดในทางอาญาของผูแทนนิติบุคคล

               พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ และมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่
               ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ เพื่อเสนอเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และนําเรียนเสนอ
               นายสุรเชษฐ สถิตนิรมัย กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พิจารณา

               ๒. ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ

                             ๒.๑ เกี่ยวกับหลักการของพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแหงกฎหมายที่
               เกี่ยวกับความรับผิดในทางอาญาของผูแทนนิติบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๐

                             พระราชบัญญัติฉบับนี้ มีหลักการและเหตุผล คือ โดยที่ศาลรัฐธรรมนูญไดมีคําวินิจฉัย

               ที่ ๑๒/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๕ วา พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. ๒๕๔๕
               มาตรา ๕๔ เฉพาะในสวนที่สันนิษฐานใหกรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการ
               ดําเนินงานของนิติบุคคล ตองรับโทษทางอาญารวมกับการกระทําความผิดของนิติบุคคล โดยไมปรากฏวา
               มีการกระทําหรือเจตนาประการใดอันเกี่ยวกับการกระทําความผิดของนิติบุคคลนั้น ขัดตอหลักนิติธรรม

               และขัดตอรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๓๙ วรรคสอง ที่บัญญัติไววา
               ในคดีอาญาตองสันนิษฐานไวกอนวาผูตองหาหรือจําเลยไมมีความผิดจนกวาจะมีคําพิพากษาถึงที่สุดวา
               เปนผูกระทําผิด มีผลใหบทบัญญัติดังกลาวเปนอันใชบังคับไมไดตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
               พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖ และตอมา ศาลรัฐธรรมนูญไดมีคําวินิจฉัยในลักษณะดังกลาวทํานอง

               เดียวกัน คือ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๗๔ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ
                                                                     9
                                                10
               โทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ มาตรา ๗๘ พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. ๒๕๐๙ มาตรา ๒๘/๔            11
                                                          12
               และพระราชบัญญัติปุย พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๗๒/๕ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
               พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๓๙ วรรคสอง เปนอันใชบังคับไมไดตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

               พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๖ ดังนั้น เพื่อแกไขบทบัญญัติของกฎหมายดังกลาวและกฎหมายอื่นที่มี
               บทบัญญัติในลักษณะเดียวกันมิใหขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญฯ รัฐจึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น
               เพื่อใหมีผลเปนการแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแหงกฎหมาย ระดับประมวลกฎหมาย พระราชบัญญัติ

               และพระราชกําหนด รวม ๗๖ ฉบับ ในเรื่องความรับผิดในทางอาญาของผูแทนนิติบุคคล เฉพาะในสวนที่


                             9  คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที่ ๕/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖
                              1 0  คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที่ ๑๐/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖
                              1 1  คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที่ ๑๑/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖
                              1 2  คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที่ ๑๙ - ๒๐/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๖
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23