Page 11 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 11

๙



                       Human  Rights  :  Implementing  the  United  Nations “ Protect,  Respect  and  Remedy”
                       Framework) ขอ 16 ระบุวา รัฐควรสงเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน โดยผานทางองคกรธุรกิจ เนื่องจาก

                       รัฐดําเนินการธุรกรรมทางการคากับผูประกอบการธุรกิจ ผานทางกิจกรรมการจัดซื้อจัดจาง
                       (procurement) ดังนั้น รัฐจึงมีโอกาสพิเศษ (unique opportunities) ในการสงเสริมความตระหนัก
                       และเคารพสิทธิมนุษยชนผานทางองคกรธุรกิจเหลานั้น โดยอาจผานเงื่อนไขของสัญญาตามขอผูกพัน
                       ภายใตกฎหมายภายในประเทศและระหวางประเทศ

                                        2.๕ มาตรา 104 วรรคสอง ควรเพิ่มเติมขอความ “โดยคํานึงถึงผลกระทบดานสิทธิ

                       มนุษยชนของการประกอบการดวย” ดังนี้ “การประเมินผลการปฏิบัติงานตามวรรคหนึ่ง ใหพิจารณาถึง
                       ความสามารถในการปฏิบัติงานใหแลวเสร็จตามสัญญาของคูสัญญาเปนสําคัญ โดยคํานึงถึงผลกระทบดาน
                       สิทธิมนุษยชนของการประกอบการดวย”

                                     3) ประเด็นดานสิทธิมนุษยชน

                                        3.1 หลักการชี้แนะของสหประชาชาติวาดวยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (Guiding
                                                              5
                       Principle on Business and Human Rights) ใหแนวทางวารัฐมีขอผูกพันในการดําเนินการตาม
                       ความจําเปนเพื่อปองกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนอันเนื่องจากธุรกิจ รวมถึงการกําหนดกรอบเกี่ยวกับ
                       การดําเนินธุรกิจเพื่อประกันวาสิทธิมนุษยชนที่ไดรับรองไวในกฎหมายและนโยบายตางๆ จะไดรับ
                       การคุมครอง ซึ่งการจัดซื้อจัดจางภาครัฐก็เปนสวนหนึ่งของขอผูกพันดังกลาว

                                        3.2 สหภาพยุโรปไดออก Directive 2014/24/EU ซึ่งเปนขอกําหนดวาดวย
                       การจัดซื้อจัดจางภาครัฐ ซึ่งอาจนํามาปรับใชในประเทศไทยได มีหลักการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจางภาครัฐ

                       ดังนี้

                                            3.2.1 เจาหนาที่ของรัฐที่รับผิดชอบการจัดซื้อจัดจางพึงปฏิบัติตอผูประกอบการ
                       (economic operators) ทุกคนอยางเทียมกัน ไมเลือกปฏิบัติ และดําเนินการดวยวิธีการที่โปรงใสและ
                       ไดสัดสวน กลาวคือไมดําเนินการที่เปนการกีดกันบางคนหรือประสงคใหมีผูเขามาเสนอราคานอยราย
                       หนวยงานของรัฐพึงกําหนดมาตรการเพื่อประกันวาผูประกอบการที่เปนคูสัญญากับภาครัฐจะปฏิบัติงาน

                       ภายใตสัญญาที่สอดคลองกับขอผูกพันของรัฐ ในการดูแลและคุมครองผลกระทบดานสิ่งแวดลอม
                       ดานสังคม และดานแรงงานตามที่กําหนดไวในกฎหมายภายใน ขอตกลงระหวางประเทศ หรือกฎหมาย
                       ระหวางประเทศ 6




                                     5   http://www.ohchr.org/Documents/Issues/Business/ForumSession2/Events/3Dec.1.PublicProcure
                       mentandHumanRights-SideEventProposal.pdf คนเมื่อวันที่ 19 พ.ย. 2559
                                     6  DIRECTIVE 2014/24/EU. on public procurement and directive. Article 18
                                         1 . Contracting authorities shall treat economic operators equally and without discrimination
                       and shall act in a transparent and proportionate manner.
                                       The design of the procurement shall not be made with the intention of excluding it from the
                       scope of this Directive or of artificially narrowing competition. Competition shall be considered to be artificially narrowed
                       where the design of the procurement is made with the intention of unduly favouring or disadvantaging certain economic
                       operators.
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16