Page 410 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 410

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ




                         กลไกภายในเพื่อการรับมือกับการคุกคามทางเพศในที่ท�างาน
                         ประมวลแนวปฏิบัติข้อ ๙ ได้ก�ำหนดกลไกภำยในส�ำหรับที่ท�ำงำน (In-house mechanism) เพื่อให้
                   นำยจ้ำงก�ำหนดข้อบังคับหรือระเบียบต่อไปในรำยละเอียด ส�ำหรับองค์ประกอบส�ำคัญที่นำยจ้ำงควรพิจำรณำ

                   น�ำไปก�ำหนดไว้มีดังต่อไปนี้
                          แนวนโยบำยห้ำมกำรคุกคำมทำงเพศในองค์กร

                          ค�ำนิยำมของกำรคุกคำมทำงเพศที่ชัดเจน
                          กระบวนกำรร้องเรียนส�ำหรับผู้ถูกคุกคำมทำงเพศในที่ท�ำงำน
                          กฎระเบียบและมำตรกำรทำงวินัย กำรลงโทษผู้คุกคำม รวมทั้งผู้อ้ำงว่ำถูกคุกคำมทำงเพศ

                           อันเป็นเท็จอีกด้วย
                          กระบวนกำรป้องกันและเยียวยำเหยื่อผู้ถูกคุกคำม

                          กำรส่งเสริมกำรศึกษำและให้ควำมรู้เกี่ยวกับนโยบำยของบริษัทในกำรป้องกันและแก้ไขกำรคุกคำม
                           ทำงเพศ เพื่อสร้ำงควำมตระหนักรู้เกี่ยวกับปัญหำและผลกระทบของกำรคุกคำมดังกล่ำว
                         ส�ำหรับองค์ประกอบต่ำง ๆ ดังกล่ำวข้ำงต้นนั้น ประมวลแนวปฏิบัตินี้ยังได้ก�ำหนดรำยละเอียดลงไปใน

                   แต่ละองค์ประกอบอีกดังต่อไปนี้

                        แนวนโยบายห้ามการคุกคามทางเพศในองค์กร (ข้อ ๑๐-๑๒)
                        แนวนโยบำยห้ำมกำรคุกคำมทำงเพศในองค์กรเป็นเอกสำรจำกฝ่ำยบริหำรจัดกำรไปยังลูกจ้ำงเพื่อแสดง
                   ถึงนโยบำยขององค์กรในกำรป้องกันและขจัดกำรคุกคำมทำงเพศในที่ท�ำงำนเพื่อเสริมสร้ำงสภำพแวดล้อมใน

                   กำรท�ำงำนเชิงบวกแก่องค์กำร
                        แนวนโยบำยควรมำจำกฝ่ำยบริหำรสูงสุดเพื่อท�ำให้มั่นใจถึงกำรบังคับใช้อย่ำงทั่วถึงในองค์กร

                        แนวนโยบำยอย่ำงน้อยที่สุดจะต้องครอบคลุมเนื้อหำดังต่อไปนี้
                         กำรประกำศห้ำมกำรคุกคำมทำงเพศในที่ท�ำงำน
                         เตือนว่ำกำรคุกคำมทำงเพศนั้นเป็นกำรขัดต่อนโยบำยขององค์กรและจะน�ำไปสู่กำรด�ำเนินกำรลงโทษ

                          ทำงวินัย
                         กฎระเบียบที่แสดงว่ำผู้บังคับบัญชำ ผู้จัดกำร มีหน้ำที่เชิงบวกในกำรน�ำนโยบำยไปประยุกต์ใช้


                        ค�านิยามของการคุกคามทางเพศที่ชัดเจน (ข้อ ๑๓ -๑๔)
                        ค�ำนิยำมที่ชัดเจนของกำรคุกคำมทำงเพศจะเป็นองค์ประกอบส�ำคัญของกลไกภำยในองค์กร นิยำม

                   ที่ก�ำหนดรำยละเอียดนั้นเป็นสิ่งจ�ำเป็นเพื่อท�ำให้ฝ่ำยบริหำรจัดกำรและลูกจ้ำงได้ทรำบอย่ำงชัดเจนถึง
                   กำรกระท�ำที่เป็นกำรคุกคำมทำงเพศ
                        วัตถุประสงค์หลักของกำรก�ำหนดนิยำม คือ กำรท�ำให้บุคคลในองค์กรตระหนักถึงกำรกระท�ำและทัศนคติ

                   ซึ่งจัดว่ำเป็นกำรไม่พึงประสงค์และคุกคำมผู้อื่น โดยพฤติกรรมดังกล่ำวเป็นพฤติกรรมที่ห้ำมกระท�ำส�ำหรับองค์กร

                        กระบวนการร้องเรียน (ข้อ ๑๕-๑๘)

                        แม้ว่ำแนวทำงกำรป้องกันจะได้มีกำรก�ำหนดขึ้นมำเพื่อเป็นกำรป้องปรำมกำรคุกคำมทำงเพศแล้ว แต่
                   ปัญหำกำรคุกคำมทำงเพศยังอำจเกิดขึ้นได้ ดังนั้น จึงมีควำมจ�ำเป็นที่องค์กรจะต้องจัดให้มีกระบวนกำรร้องเรียน
                   ส�ำหรับผู้ถูกคุกคำมทำงเพศเมื่อเกิดพฤติกรรมดังกล่ำวขึ้น






                                                               409
   405   406   407   408   409   410   411   412   413   414   415