Page 406 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 406
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
กำรคุกคำมทำงเพศ (Sexual Harassment) คือ กำรกลั่นแกล้งรังแก หรือกำรบังคับ
ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องทำงเพศ หรือกำรกระท�ำอันไม่พึงประสงค์ หรือกำรให้ค�ำมั่นสัญญำที่ไม่เหมำะสมเพื่อแลกเปลี่ยนกับ
กำรตอบแทนในเรื่องทำงเพศ
องค์ประกอบส�ำคัญของกำรคุกคำมทำงเพศ คือ ลักษณะที่ไม่พึงประสงค์หรือไม่เป็นที่
ต้องกำรของผู้ถูกกระท�ำ (Unwelcome or Unwanted) ซึ่งมุ่งเน้นพิจำรณำผลกระทบที่เกิดกับผู้ถูกกระท�ำมำกกว่ำ
มุ่งเน้นที่เจตนำของตัวผู้กระท�ำ
ในปี ค.ศ. ๑๙๙๗ ศำลสูงสุดของอินเดียได้วำงแนวทำงวินิจฉัยกำรคุกคำมทำงเพศโดย
410
ก�ำหนดองค์ประกอบที่ส�ำคัญของควำมผิดฐำนคุกคำมทำงเพศ (Sexual Harassment) ดังนี้
“การติดต่อทางกายภาพ การเข้าหาเกี่ยวกับเรื่องทางเพศอย่างชัดแจ้งและไม่เป็นที่
พึงประสงค์ หรือ
การเรียกร้องเกี่ยวกับเรื่องทางเพศ หรือ
การเสียดสีใด ๆ เกี่ยวกับเรื่องทางเพศ หรือ
การแสดงสื่อลามกโดยการบังคับ หรือ
การกระท�าใด ๆ ทางกายภาพ วาจา มิใช่วาจา เกี่ยวกับเรื่องทางเพศ”
ต่อมำ ในปี ค.ศ. ๒๐๑๓ กฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรคุกคำมทำงเพศโดยตรง ได้มีผลใช้
บังคับ กล่ำวคือ
๑. กฎหมายคุ้มครองและป้องกันการคุกคามทางเพศต่อผู้หญิงในสถานที่ท�างาน
(Sexual Harassment of Women at Workplace (Prevention, Prohibition and Redressal Act, 2013)
กฎหมำยนี้ก�ำหนดหลักส�ำคัญเกี่ยวกับกำรป้องกันและคุ้มครองกำรคุกคำมทำงเพศ
411
ได้แก่
412
ก�ำหนดนิยำมของกำรคุกคำมทำงเพศ ว่ำหมำยถึงกำรกระท�ำดังต่อไปนี้
“การติดต่อทางกายภาพ การเข้าหาเกี่ยวกับเรื่องทางเพศอย่างชัดแจ้งและไม่เป็นที่พึง
ประสงค์ หรือ
การเรียกร้องเกี่ยวกับเรื่องทางเพศ หรือ
การเสียดสีใด ๆ เกี่ยวกับเรื่องทางเพศ หรือ
การแสดงสื่อลามกโดยการบังคับ หรือ
การกระท�าใด ๆ ทางกายภาพ วาจา มิใช่วาจา เกี่ยวกับเรื่องทางเพศ”
410 From “Vishaka v. State of Rajasthan and Ors. AIR 1997” SC 3011
411 From The Sexual Harassment of Women at Workplace (Prevention, Prohibition and Redressal) Act,
2013 The Gazette of India”. Press Information Bureau. Retrieved from http://www.ilo.org/asia/info/public/WCMS_
220527/lang--en/index.html
412 มำตรำ 2 (n)
405