Page 401 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 401
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
400
ทำงเพศ กำรคุกคำมทำงเพศอำจเกิดขึ้นในสภำพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับกำรท�ำงำนหรือเกิดขึ้นในสภำพแวดล้อมของ
สังคมทั่วไป ประเด็นแรกที่มีควำมส�ำคัญอันควรชี้ให้เห็นก่อนก็คือ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรคุกคำมทำงเพศกับหลักควำม
เท่ำเทียมกันและกำรห้ำมเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนระหว่ำงประเทศ
ในระดับกฎหมำยสิทธิมนุษยชนระหว่ำงประเทศ พบว่ำ กำรคุกคำมมีควำมสัมพันธ์กับ “ควำมรุนแรง”
และ “ควำมรุนแรง” จัดเป็นส่วนหนึ่งของ “กำรเลือกปฏิบัติ” โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง ควำมรุนแรงทำงเพศซึ่งอยู่ภำยใต้
หลักเกณฑ์กำรเลือกปฏิบัติต่อเพศหญิง ดังจะเห็นได้จำก อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
(Elimination of All Forms of Discrimination against Women – CEDAW) ข้อ ๑. มีหลักว่ำ “เพื่อควำมมุ่งประสงค์
ของอนุสัญญำนี้ ค�ำว่ำ “กำรเลือกปฏิบัติต่อสตรี” จะหมำยถึงกำรแบ่งแยกกำรกีดกันหรือกำรจ�ำกัดใด ๆ เพรำะเหตุแห่ง
เพศซึ่งมีผลหรือควำมมุ่งประสงค์ที่จะท�ำลำย หรือท�ำให้เสื่อมเสียกำรยอมรับกำรได้อุปโภค หรือกำรใช้สิทธิโดยสตรีโดย
ไม่เลือกสถำนภำพด้ำนกำรสมรสบนพื้นฐำนของควำมเสมอภำคของบุรุษและสตรีของสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐำน ในด้ำน
กำรเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม พลเมือง หรือด้ำนอื่น ๆ”
ในกำรตีควำมอนุสัญญำนี้ ปรำกฏว่ำข้อเสนอแนะทั่วไปที่ ๑๙ ของคณะกรรมกำรขจัดกำรเลือกปฏิบัติ
ต่อสตรี (CEDAW General Recommendation No. 19) ให้ควำมเห็นต่อมำตรำ ๑ ของอนุสัญญำ CEDAW ที่นิยำม
กำรเลือกปฏิบัติต่อสตรี ว่ำ “กำรเลือกปฏิบัติต่อสตรี รวมถึงควำมรุนแรงบนพื้นฐำนของเพศสภำพ ได้แก่ ควำมรุนแรง
ที่กระท�ำต่อสตรีเพรำะเธอเป็นผู้หญิง หรือมีผลกระทบต่อสตรีอย่ำงรุนแรงเป็นพิเศษ ซึ่งรวมถึงกำรท�ำร้ำยหรือท�ำให้เจ็บ
ปวดในทำงร่ำงกำย จิตใจหรือทำงเพศ กำรข่มขู่ว่ำจะท�ำร้ำย กำรบังคับ และกำรลิดรอนเสรีภำพอื่น ๆ ควำมรุนแรงบน
พื้นฐำนของเพศสภำพอำจเป็นกำรละเมิดบทบัญญัติเฉพำะต่ำง ๆ ของอนุสัญญำ ไม่ว่ำบทบัญญัตินั้น ๆ จะกล่ำวถึงควำม
รุนแรงไว้อย่ำงชัดแจ้งหรือไม่ก็ตำม” ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำควำมหมำยของกำรเลือกปฏิบัติรวมถึง “ควำมรุนแรงบนพื้นฐำน
401
ของเพศสภำพ (Gender-based violence)”
นอกจำกข้อเสนอแนะทั่วไปเกี่ยวกับนิยำมของกำรเลือกปฏิบัติต่อสตรีแล้ว ในส่วนของหลักควำม
เท่ำเทียมกันในกำรท�ำงำน (Equality in Employment) ตำมอนุสัญญำฯ ข้อ ๑๑ นั้น ข้อเสนอแนะทั่วไปดังกล่ำวยังได้
กล่ำวถึงกำรคุกคำมทำงเพศไว้โดยเฉพำะว่ำ “ควำมเท่ำเทียมกันในกำรท�ำงำนอำจถูกล่วงละเมิดอย่ำงร้ำยแรงเมื่อสตรี
ต้องตกอยู่ภำยใต้ควำมรุนแรงบนพื้นฐำนของเพศสภำพ เช่น กำรคุกคำมทำงเพศในสถำนที่ท�ำงำน (Sexual Harassment
in the Workplace)”
ข้อแนะน�ำทั่วไปดังกล่ำว ยังได้อธิบำยควำมหมำยของกำรคุกคำมทำงเพศไว้ด้วยว่ำ
“หมำยควำมรวมถึงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์เกี่ยวกับเรื่องทำงเพศ เช่น กำรติดต่อทำงกำยภำพ
กำรสื่อสำรเกี่ยวกับเรื่องทำงเพศ กำรแสดงสื่อลำมก และกำรเรียกร้องทำงเพศ ไม่ว่ำโดยวำจำหรือกำรกระท�ำ กำรกระท�ำ
400 From Academic and Workplace Sexual Harassment (p 2-5) by Michele Antoinette Paludi and Richard
Barickman, 1991 , SUNY Press
401 CEDAW General Recommendation No. 19, “The Convention in article 1 defines discrimination against
women. The definition of discrimination includes gender-based violence, that is, violence that is directed against
a woman because she is a woman or that affects women disproportionately. It includes acts that inflict physical,
mental or sexual harm or suffering, threats of such acts, coercion and other deprivations of liberty. Gender-based
violence may breach specific provisions of the Convention, regardless of whether those provisions expressly
mention violence”
400