Page 397 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 397
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
จัดสรรงบประมำณอุดหนุนเป็นค่ำใช้จ่ำยรำยหัว ให้แก่สถำนศึกษำที่จัดกำรศึกษำแก่กลุ่มบุคคล
ที่ไม่มีหลักฐำนทำงทะเบียนรำษฎร์หรือไม่มีสัญชำติไทย ตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษำถึงระดับมัธยมศึกษำ
ตอนปลำยในอัตรำเดียวกับค่ำใช้จ่ำยรำยหัวที่จัดสรรให้เด็กไทย
ให้กระทรวงมหำดไทยจัดท�ำฐำนข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลที่ไม่มีหลักฐำนหรือไม่มีสัญชำติไทย เพื่อ
ประโยชน์ต่อกำรจ�ำแนกสถำนะ และกำรอนุญำตและอ�ำนวยควำมสะดวกให้แก่เด็กและเยำวชนที่มีข้อก�ำหนด
เฉพำะและระเบียบปฏิบัติหรือกฎหมำยควบคุมเฉพำะให้จ�ำกัดพื้นที่อยู่อำศัยสำมำรถเดินทำงไปศึกษำได้เป็น
ระยะเวลำตำมหลักสูตระดับนั้น ๆ โดยไม่ต้องขออนุญำตเป็นครั้งครำว ยกเว้นผู้หนีภัยจำกกำรสู้รบและบุคคล
ในควำมห่วงใย (Prisoner of conscience)
ให้กระทรวงศึกษำธิกำรจัดกำรศึกษำในรูปแบบที่เหมำะสมแก่เด็กและเยำวชนที่หนีภัย
จำกกำรสู้รบ เพื่อพัฒนำคุณภำพชีวิตและกำรอยู่ร่วมกันอย่ำงสมำนฉันท์
จำกมติคณะรัฐมนตรีดังกล่ำวจะเห็นได้ว่ำ บุคคลที่ไม่มีหลักฐำนทำงทะเบียนรำษฎร์หรือไม่มีสัญชำติ
ไทยทุกกลุ่มที่อำศัยในประเทศไทย รวมทั้งผู้ลี้ภัย เด็กกลุ่มชำติพันธุ์ บุตรของแรงงำนโยกย้ำยถิ่นฐำน มีโอกำสได้รับกำร
ศึกษำของไทยและมีสิทธิเข้ำเรียนฟรี ๑๕ ปี รวมทั้งยังมีองค์กรเอกชนระหว่ำงประเทศที่จัดกำรศึกษำตั้งแต่ประถมศึกษำ
398
ปีที่ ๑ ถึงมัธยมศึกษำปีที่ ๔ ในพื้นที่พักพิง ๙ แห่งอีกด้วย อย่ำงไรก็ตำม ยังมีนักวิชำกำรด้ำนกำรศึกษำชี้ให้เห็นถึง
ปัญหำควำมเข้ำใจมติคณะรัฐมนตรีดังกล่ำว ในกรณีเด็กพิกำรที่มีควำมบกพร่องในกำรได้ยินยังมิได้รับสิทธิเสรีภำพ และ
ควำมเสมอภำคตำมที่กฎหมำยก�ำหนดไว้อย่ำงเต็มที่ กำรน�ำบทบัญญัติกฎหมำยไปบังคับใช้ยังไม่เป็นรูปธรรม เนื่องจำก
กฎหมำยบัญญัติไว้อย่ำงกว้ำง ๆ เพื่อใช้ส�ำหรับคนพิกำรทุกประเภททั้งที่เด็กพิกำรแต่ละประเภทมีควำมแตกต่ำงกันใน
399
กำรจัดกำรศึกษำ แม้ว่ำควำมเสมอภำคในมิติกำรศึกษำจะยังมีปัญหำในทำงปฏิบัติ โดยเฉพำะกำรบังคับใช้กฎหมำย
ดังกล่ำว แต่โดยหลักกำรแล้ว หำกพิจำรณำในแง่เนื้อหำสำระของหลักกฎหมำยที่เกี่ยวข้องอำจกล่ำวได้ว่ำ นโยบำยและ
กฎหมำยที่เกี่ยวข้องของไทยมีหลักกำรครอบคลุมเพื่อส่งเสริมควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำแล้ว
ส�ำหรับประเด็นกำรเลือกปฏิบัติในมิติกำรศึกษำของไทยที่มีลักษณะกำรแบ่งแยกบุคคลตำมกลุ่มที่
เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัตินั้น พบว่ำ มีกรณีกำรก�ำหนดเกณฑ์กำรรับนักเรียนโดยอำศัยเหตุด้ำนถิ่นที่อยู่
ซึ่งคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติเห็นว่ำ “..กำรก�ำหนดหลักเกณฑ์กำรรับนักเรียนสังกัดส�ำนักงำนคณะกรรมกำร
กำรศึกษำขั้นพื้นฐำนที่ก�ำหนดให้รับนักเรียนในเขตพื้นที่ไม่น้อยกว่ำร้อยละ ๕๐ ไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติและไม่กระทบต่อ
สิทธิของเด็กที่เข้ำศึกษำ ซึ่งกำรก�ำหนดรับนักเรียนโดยอำศัยเกณฑ์ทะเบียนรำษฎรเป็นหลักนั้นเป็นกำรรับรองสิทธิ ไม่
เป็นกำรจ�ำกัดสิทธิจึงไม่มีกำรเลือกปฏิบัติแต่อย่ำงใด ...” (รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๙๒๗-๙๒๘/๒๕๕๘) กรณีนี้อำจ
จัดว่ำเป็นกำรปฏิบัติแตกต่ำงกันด้วยเหตุ “ถิ่นที่อยู่” ทั้งนี้ หำกเปรียบเทียบกับนโยบำยกำรจัดสรรสิทธิเข้ำเรียนตำมพื้นที่
พักอำศัย (Neighborhood Policy) ในสหรัฐอเมริกำจะเห็นได้ว่ำ โดยหลักแล้วนโยบำยนี้เป็นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกัน
แต่ศำลน�ำปัจจัยต่ำง ๆ มำประกอบกำรพิจำรณำ เช่น “ผลที่ท�ำให้เกิดกำรแบ่งแยกนักเรียนด้วยเหตุเชื้อชำติ ศำสนำ”
“เจตนำในกำรแบ่งแยก (Segregative Intent)” ซึ่งอำจจ�ำแนกวิเครำะห์ได้สองกรณี คือ
398 จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร, รำยงำนฉบับสมบูรณ์ นโยบำยกำรคุ้มครองสิทธิมนุษยชนชำยแดนไทย-พม่ำ: กรณีผู้อพยพจำก
ภัยสงครำม (กรุงเทพมหำนคร: ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ, ๒๕๕๕).
399 ชนิตำ รักษ์พลเมือง, สิทธิและเสรีภำพทำงกำรศึกษำ: พื้นฐำนกำรศึกษำทำงสังคมและกฎหมำย (กรุงเทพมหำนคร:
วิญญูชน, ๒๕๕๗), หน้ำ ๘๙.
396