Page 398 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 398
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
กรณีแรก หำกมำตรกำรหรือนโยบำยดังกล่ำว ส่งผลให้เกิดกำรแบ่งแยก หรือแสดงว่ำมีเจตนำแบ่งแยก
ก็จะเป็นกำรขัดต่อหลักควำมเท่ำเทียมกันตำมรัฐธรรมนูญ โดยนัยนี้จะเห็นได้ว่ำศำลพิจำรณำควำมเท่ำเทียมกันในเชิงสำระ
(Substantive Equality) และในกำรพิจำรณำถึง “ผล” (Effect) นั้นก็สอดคล้องกับหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติโดยอ้อม
กรณีที่สอง หำกมำตรกำรหรือนโยบำยดังกล่ำวไม่มีเจตนำหรือผลในกำรแบ่งแยก แต่มีวัตถุประสงค์
เพื่อขจัดควำมไม่ควำมสมดุลระหว่ำงเชื้อชำติ สีผิว (Racial Imbalance) ก็ไม่ขัดต่อหลักควำมเท่ำเทียมกัน โดยนัยนี้
จะเห็นได้ว่ำ มำตรกำรหรือนโยบำยดังกล่ำวมีลักษณะเป็นมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวก (Affirmative Action) นั่นเอง
นอกจำกเหตุในด้ำน “ถิ่นที่อยู่” ดังกล่ำวแล้ว ส�ำหรับประเด็นกำรเลือกปฏิบัติในมิติกำรศึกษำด้วยเหตุ
แห่งกำรเลือกปฏิบัติอื่น ๆ โดยเฉพำะ เชื้อชำติ สัญชำติ นั้นพบว่ำ กฎหมำยไทยที่เป็นอยู่ได้วำงหลักเกณฑ์กำรคุ้มครอง
ควำมเสมอภำคไว้ครอบคลุมแล้ว
ส�ำหรับกรณีการแบ่งแยกบุคคลด้วยเหตุแห่งเพศ ในมิติกำรศึกษำนั้น เมื่อเปรียบเทียบกับสหรัฐอเมริกำ
แล้วพบว่ำ ในประเทศไทยก็มีสถำนศึกษำของรัฐที่รับบุคคลเฉพำะเพศ (Gender Segregated School) อยู่เป็นจ�ำนวน
มำก ทั้งโรงเรียนชำยล้วน และโรงเรียนหญิงล้วน ซึ่งยังไม่ปรำกฏค�ำร้องหรือคดีในประเทศไทยที่ตัดสินประเด็นว่ำ โรงเรียน
ชำยล้วนหรือหญิงล้วนนั้นเป็นกำรเลือกปฏิบัติและขัดต่อหลักควำมเท่ำเทียมกันหรือไม่ หำกพิจำรณำจำกหลักกำรตำม
กฎหมำยเฉพำะที่กล่ำวมำจะเห็นได้ว่ำ กำรแบ่งแยกบุคคลด้วยเหตุแห่งเพศในมิติกำรศึกษำโดยหลักแล้วจะเป็นกำร
ปฏิบัติที่แตกต่ำงกันระหว่ำงบุคคลด้วยเหตุแห่งเพศ นอกจำกนี้ หำกเปรียบเทียบกับกรณีในสหรัฐอเมริกำจะเห็นได้ว่ำ แม้
ภำครัฐจะจัดให้มีโรงเรียนอื่น ๆ นอกจำกโรงเรียนเฉพำะเพศนั้น แต่เมื่อพิจำรณำถึงผล (Effect) แล้วยังอำจเป็นกำรเลือก
ปฏิบัติต่อบุคคลได้เช่นกัน อย่ำงไรก็ตำม ต้องพิจำรณำต่อไปว่ำกำรจ�ำแนกโรงเรียนตำมเพศนั้นมีเหตุผลอันสมควรหรือไม่
ซึ่งกฎหมำยไทยมิได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวพิจำรณำไว้อย่ำงชัดแจ้ง แต่อำจน�ำหลักเกณฑ์และปัจจัยพิจำรณำที่ศำล
สหรัฐอเมริกำวำงไว้มำประกอบเป็นแนวทำงพิจำรณำได้ กล่ำวคือ ศำลสหรัฐอเมริกำพิจำรณำว่ำกำรแบ่งแยกรับนักเรียน
ตำมเพศหรือโรงเรียนเฉพำะเพศ ภำยใต้กรอบของหลัก “เหตุผลชอบด้วยกฎหมำย” (Legitimate Educational Policy)
และ “ควำมสัมพันธ์อย่ำงมีนัยส�ำคัญและชอบธรรมระหว่ำงเป้ำหมำยและวิธีกำร” (Fair and Substantial Relationship
between Means and Ends) ซึ่งอำจจ�ำแนกได้สองกรณี
กรณีแรก กำรรับนักเรียนแบ่งแยกตำมเพศของโรงเรียนเฉพำะเพศนั้น แสดงถึงเหตุผลอันชอบด้วย
กฎหมำย โดยมีควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเป้ำหมำยและวิธีกำร เช่น มีทฤษฎีทำงสังคมศำสตร์หรือวิทยำศำสตร์มำรองรับถึง
เหตุผลในกำรแบ่งแยกโรงเรียนตำมเพศ กรณีนี้กำรแบ่งแยกโรงเรียนตำมเพศจะไม่ขัดต่อหลักควำมเท่ำเทียมกัน
กรณีที่สอง กำรรับนักเรียนแบ่งแยกตำมเพศของโรงเรียนเฉพำะเพศนั้น ปรำศจำกเหตุผลอันชอบ
ด้วยกฎหมำย ไม่มีควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเป้ำหมำยและวิธีกำร กรณีนี้กำรแบ่งแยกโรงเรียนตำมเพศจะขัดต่อหลักควำม
เท่ำเทียมกัน
ด้วยเหตุนี้ หำกพิจำรณำตำมกรอบกฎหมำยไทยปัจจุบัน ประกอบกับแนวกำรวินิจฉัยของศำล
สหรัฐอเมริกำดังกล่ำวข้ำงต้น จะเห็นได้ว่ำ กำรแบ่งแยกนักเรียนตำมเพศดังที่ปรำกฏจำกโรงเรียนของรัฐหลำยแห่งของ
ไทยนั้น โดยหลักแล้วเป็นกำรปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกันด้วยเหตุแห่งเพศ แต่ต้องพิจำรณำต่อไปว่ำมีเหตุผลอันสมควร
หรือไม่ อย่ำงไร
นอกจำกกำรเลือกปฏิบัติในมิติกำรศึกษำที่เกี่ยวข้องกับกำรจ�ำแนกกลุ่มบุคคลด้วยเหตุถิ่นที่อยู่ เชื้อชำติ
สัญชำติ เพศ แล้วยังอำจมีประเด็นเกี่ยวกับกำรเลือกปฏิบัติอื่น ๆ ในมิติกำรศึกษำ ดังจะเห็นได้จำกกำรศึกษำค�ำร้องต่อ
คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ พบว่ำมีหลำยกรณีที่ผู้ร้องอ้ำงว่ำถูกเลือกปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับมิติด้ำนกำรศึกษำ เช่น
397