Page 400 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 400

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





               เป็นเหตุให้กรรมกำรมีมติไม่รับผู้ฟ้องคดีเข้ำศึกษำ อีกทั้งคณะกรรมการสอบสัมภาษณ์ก็มิได้พิจารณาไม่รับผู้ฟ้องคดีเพราะ
               เหตุด้านบุคลิกภาพแต่ประการเดียว แต่ยังปรำกฏควำมไม่เหมำะสมด้ำนอื่นอีกหลำยประกำรที่เป็นเหตุผลในกำรไม่รับ
               ผู้ฟ้องคดีเข้ำศึกษำ กำรพิจำรณำของคณะกรรมกำรสอบสัมภำษณ์จึงไม่ใช่กำรกระท�ำที่ต้องห้ำมตำมมำตรำ ๓๐ ของ

               รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๔๐ คดีนี้จะเห็นได้ว่ำมีเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ เช่น รสนิยมทำงเพศ
               มำเกี่ยวข้องแต่ข้อเท็จจริงไม่สำมำรถชี้ชัดได้ว่ำกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันนั้นมีควำมเชื่อมโยงกับเหตุดังกล่ำว
                               คดีของศำลปกครองข้ำงต้นอำจเปรียบเทียบได้กับกรณีที่ผู้ร้องร้องต่อคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชน

               แห่งชำติ เรื่องบุตรสำวถูกปฏิเสธกำรเข้ำศึกษำด้วยเหตุมีปำนบนใบหน้ำ ซึ่งเหตุนี้เกี่ยวข้องกับ “สภำพทำงกำย” จำกกำร
               ตรวจสอบข้อเท็จจริงพบว่ำ กำรที่บุตรสำวของผู้ร้องไม่ผ่ำนกำรสอบคัดเลือกนั้นเป็นผลจำกคะแนนสอบ ไม่เกี่ยวข้องกับ

               ปำนบนใบหน้ำแต่อย่ำงใด (รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๑๙๔/๒๕๕๗)
                               อำจสรุปได้ว่ำ กฎหมำยไทยและกฎหมำยสหรัฐอเมริกำต่ำงรับรองหลักควำมเสมอภำคไว้เช่นเดียวกัน
               ส�ำหรับในมิติกำรศึกษำนั้น บุคคลย่อมมีสิทธิในกำรศึกษำโดยปรำศจำกกำรแบ่งแยกด้วยเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ เช่น

               เชื้อชำติ สีผิว เพศ อย่ำงไรก็ตำม ศำลสหรัฐอเมริกำน�ำปัจจัยต่ำง ๆ มำประกอบกำรพิจำรณำนโยบำยหรือมำตรกำรที่
               ปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกันหรือมีกำรแบ่งแยกบุคคลในมิติกำรศึกษำด้วย ซึ่งอำจเปรียบเทียบได้กับหลักควำมเสมอภำค

               เชิงสำระและหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติโดยอ้อม ในกรณีของไทยนั้น ประเด็นกำรเลือกปฏิบัติในมิติกำรศึกษำที่เกี่ยวข้อง
               กับกำรจ�ำแนกบุคคลตำมเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับ “ถิ่นที่อยู่”จำกกรณีศึกษำดังกล่ำวข้ำงต้นนั้นไม่ขัด
               หลักควำมเท่ำเทียมกันและไม่จัดเป็นกำรเลือกปฏิบัติ เนื่องจำกมีลักษณะเป็นมำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวก ส�ำหรับกำร

               จ�ำแนกบุคคลในมิติกำรศึกษำด้วยเหตุแห่งเพศนั้นพบว่ำ ตำมกฎหมำยไทยปัจจุบันมีหลักกำรคุ้มครองที่ครอบคลุมแล้ว
               แต่ยังมีปัญหำกำรตีควำมในบำงประเด็น เช่น โรงเรียนที่รับนักเรียนเฉพำะเพศนั้น อยู่บนพื้นฐำนของเหตุผลอันสมควร
               หรือไม่ อย่ำงไร ส�ำหรับประเด็นกำรเลือกปฏิบัติในมิติกำรศึกษำด้วยเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติอื่น ๆ โดยเฉพำะ เชื้อชำติ

               สัญชำติ นั้น กฎหมำยไทยที่เป็นอยู่ได้วำงหลักเกณฑ์กำรคุ้มครองควำมเสมอภำคไว้ครอบคลุมแล้ว นอกจำกนี้ ยังพบว่ำมี
               ประเด็นเกี่ยวกับกำรเลือกปฏิบัติอื่น ๆ ในมิติกำรศึกษำของไทย ซึ่งในหลำยกรณีไม่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ
               ตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนแต่อย่ำงใด




               ๔.๑๓ การเลือกปฏิบัติในกรณีการคุกคามทางเพศ (Sexual Harassment)



                       ในหัวข้อนี้จะได้ศึกษำวิเครำะห์กำรคุกคำมทำงเพศ (Sexual Harassment) ในบริบทของกฎหมำยสิทธิมนุษยชน

               ที่เกี่ยวกับหลักควำมเท่ำเทียมกันและกำรไม่เลือกปฏิบัติ โดยเริ่มจำกชี้ให้เห็นควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรคุกคำมทำงเพศ
               กับหลักควำมเท่ำเทียมกันและกำรไม่เลือกปฏิบัติ เพื่อน�ำไปสู่กำรวิเครำะห์เปรียบเทียบกฎหมำยต่ำงประเทศกับกฎหมำย
               ไทยที่เกี่ยวข้องต่อไป



                       ๔.๑๓.๑ การคุ้มครองผู้ถูกคุกคามทางเพศในกรอบของการห้ามเลือกปฏิบัติ

                               กำคุกคำมทำงเพศมีควำมหมำยโดยทั่วไป คือ กำรกลั่นแกล้งรังแก หรือกำรบีบบังคับที่มีลักษณะ
               เกี่ยวข้องกับเรื่องทำงเพศ รวมถึงกำรให้สัญญำหรือสิ่งตอบแทนใด ๆ เพื่อเป็นกำรแลกเปลี่ยนกับกำรปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่อง









                                                               399
   395   396   397   398   399   400   401   402   403   404   405