Page 395 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 395
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
๔.๑๒.๕ การเลือกปฏิบัติในการให้บริการการศึกษาด้วยเหตุเชื้อชาติ ถิ่นก�าเนิด
นโยบำยของรัฐในกำรแบ่งแยกกำรให้กำรศึกษำตำมเชื้อชำติ สีผิว (Segregation) ได้ถูกศำลในหลำย
คดีตัดสินว่ำเป็นกำรขัดต่อหลักควำมเท่ำเทียมกันตำมรัฐธรรมนูญ ดังนั้นรัฐบำลท้องถิ่นหลำยแห่งได้ปรับเปลี่ยนนโยบำย
กำรรับเข้ำศึกษำไปในทิศทำงของกำรรับบุคคลโดยไม่จ�ำแนกเชื้อชำติ สีผิว (Integration)
อย่ำงไรก็ตำม ยังเกิดกรณีที่ว่ำสถำนศึกษำบำงแห่งก�ำหนดนโยบำยกำรรับเข้ำศึกษำโดยส�ำรองที่นั่ง
จ�ำนวนหนึ่งให้กับบุคคลบำงเชื้อชำติ ถิ่นก�ำเนิด จึงมีประเด็นว่ำ นโยบำยดังกล่ำวเป็นกำรเลือกปฏิบัติหรือไม่ ซึ่งหำก
พิจำรณำโดยทั่วไปแล้วจะเห็นว่ำ นโยบำยดังกล่ำวส่งผลให้เกิดกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันระหว่ำงบุคคลที่ได้รับสิทธิหรือ
โควตำนั้น กับ บุคคลที่ไม่อยู่ในกลุ่มเชื้อชำติ ถิ่นก�ำเนิด ที่มีสิทธิดังกล่ำว แต่หำกพิจำรณำถึงวัตถุประสงค์ของนโยบำยนี้
จะพบว่ำ มิได้เป็นไปเพื่อกีดกันหรือเลือกปฏิบัติ แต่เป็นไปเพื่อช่วยกลุ่มผู้ที่มีควำมเสี่ยงหรือเคยถูกเลือกปฏิบัติให้ได้รับ
โอกำสที่เท่ำเทียมกันมำกขึ้น ฝ่ำยที่ก�ำหนดนโยบำยดังกล่ำวจึงโต้แย้งว่ำเป็นกำรปฏิบัติที่ชอบธรรมและไม่เป็นกำรเลือก
ปฏิบัติ
คดีส�ำคัญที่เกี่ยวกับกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันในกำรรับบุคคลเข้ำศึกษำในสถำบันกำรศึกษำของรัฐด้วย
เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติกล่ำวคือกรณีเชื้อชำติ ถิ่นก�ำเนิด แต่มีประเด็นเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้เกิดควำม
391
เท่ำเทียมกันดังกล่ำวนี้ จะเห็นได้จำกคดีส�ำคัญคือ Regents of University of California v. Bakke ซึ่งเป็นกรณีที่
โจทก์เป็นวิศวกรและอดีตทหำรถูกปฏิเสธกำรรับเข้ำศึกษำในคณะแพทยศำสตร์มหำวิทยำลัย University of California,
Davis เนื่องจำกมหำวิทยำลัยมีนโยบำยรับนักศึกษำด้วยโควตำที่ก�ำหนดขึ้นจำกมูลเหตุเชื้อชำติ (Racial Quota)
กล่ำวคือจ�ำกัดที่นั่งจ�ำนวน ๑๖ ที่นั่งจำก ๑๐๐ ที่นั่งให้บุคคลบำงเชื้อชำติ สีผิว ศำลสูงสุดของ California ตัดสินว่ำ
นโยบำยดังกล่ำวเป็นกำรละเมิดสิทธิของคนผิวขำวและขัดต่อหลักควำมเท่ำเทียมกัน ศำลสูงสุดสหรัฐอเมริกำตัดสินด้วย
เสียงข้ำงมำกว่ำกรณีนี้แม้ว่ำเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ในกำรสร้ำงควำมหลำกหลำยของเชื้อชำติให้เกิดขึ้นในชั้นเรียนด้วย
กำรให้โควตำช่วยเหลือกลุ่มเชื้อชำติบำงกลุ่ม แต่มีลักษณะกว้ำงเกินไปและขัดต่อหลักควำมเท่ำเทียมกัน
392
อย่ำงไรก็ตำม ในปี ๒๐๐๓ ศำลในคดี Grutter v. Bollinger ได้ตัดสินว่ำเกณฑ์กำรรับนักศึกษำ
โดยอำศัยปัจจัยด้ำนเชื้อชำติ สีผิว นั้นไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ข้อเท็จจริงในคดีนี้เป็นกรณีนักศึกษำผิวขำวผู้มีผลกำรเรียน
๓.๘ ถูกปฏิเสธกำรรับเข้ำศึกษำต่อในมหำวิทยำลัยเนื่องจำกนโยบำยใช้ปัจจัยด้ำนเชื้อชำติเป็นปัจจัยหนึ่งส�ำหรับกำร
พิจำรณำรับนักศึกษำ นักศึกษำผู้นี้จึงฟ้องว่ำกำรใช้ปัจจัยดังกล่ำวเป็นกำรฝ่ำฝืนหลักควำมเท่ำเทียมกันที่ก�ำหนดไว้ใน
รัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ ๑๔ ศำลสูงสุดสหรัฐเห็นว่ำ เกณฑ์กำรคัดเลือกของมหำวิทยำลัย Michigan มี
วัตถุประสงค์เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ส�ำคัญที่รัฐพึงปกป้อง (Compelling state interest) กล่ำวคือวัตถุประสงค์ใน
กำรสร้ำงชั้นเรียนที่ประกอบด้วยควำมหลำกหลำยของนักศึกษำ ศำลตัดสินว่ำกระบวนกำรรับนักศึกษำที่มีเกณฑ์ด้ำน
เชื้อชำตินั้นอำจถือว่ำเป็นกำรปฏิบัติในลักษณะพิเศษแก่ชนกลุ่มน้อยที่ด้อยโอกำส (Underrepresented minority
group) แต่มีกำรน�ำปัจจัยอื่นๆเข้ำมำประกอบกำรพิจำรณำส�ำหรับผู้สมัครแต่ละรำยด้วย ซึ่งแตกต่ำงกับระบบโควตำ
ซึ่งศำลเคยตัดสินว่ำขัดต่อรัฐธรรมนูญ
391 From “Regents of the University of California v. Bakke” 438 U.S. 265 (1978)
392 From “Grutter v. Bollinger” 539 U.S. 306 (2003)
394