Page 393 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 393
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
ในสหรัฐอเมริกำมีหลำยกรณีที่รัฐบำลท้องถิ่นมีกฎหมำยหรือนโยบำยในกำรจัดกำรศึกษำภำครัฐโดย
แบ่งแยกโรงเรียนตำมเพศ ซึ่งอำจมีส่วนเกี่ยวพันกับมูลเหตุด้ำนเชื้อชำติ สีผิวด้วย โดยเฉพำะกำรตั้งโรงเรียนชำยล้วน
ส�ำหรับเด็กนักเรียนผิวสี
ในระยะแรกศำลสหรัฐอเมริกำตัดสินว่ำนโยบำยในลักษณะดังกล่ำวสำมำรถท�ำได้โดยไม่ขัดต่อ
383
กฎหมำย เช่น คดี Vorchheirner v. School District of Philadelphia ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจำกนักเรียนหญิงประสงค์
เข้ำเรียนในโรงเรียนชำยล้วน (All men high school) และถูกปฏิเสธจึงอ้ำงว่ำถูกละเมิดสิทธิตำมรัฐธรรมนูญ ถึงแม้
โรงเรียนในลักษณะที่นักเรียนหญิงผู้นี้ประสงค์จะเข้ำเรียนนั้นจะมีสองแห่ง กล่ำวคือ แห่งหนึ่งส�ำหรับชำยล้วนและอีก
แห่งส�ำหรับหญิงล้วนก็ตำม นักเรียนหญิงผู้นี้ก็อ้ำงว่ำชื่อเสียงของโรงเรียนชำยล้วนแห่งนั้นดีกว่ำ ศำลชั้นต้นมีค�ำสั่งให้
รับนักเรียนหญิงเข้ำเรียนโรงเรียนชำยล้วนนั้น โดยให้เหตุผลว่ำ กำรกีดกันด้วยมูลเหตุแห่งเพศในกรณีนี้ไม่มีเหตุผลเกี่ยว
กับผลประโยชน์อันชอบธรรมของรัฐ ศำลวำงหลักว่ำ กำรปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงกันนั้น อำจท�ำได้ต่อเมื่อแสดงให้เห็น
ถึง “ควำมสัมพันธ์อย่ำงมีนัยส�ำคัญและชอบธรรมระหว่ำงเป้ำหมำยและวิธีกำร (Fair and Substantial Relationship
between Means and Ends) ส�ำหรับในกรณีนี้ ศำลเห็นว่ำ ยังไม่มีควำมสัมพันธ์ดังกล่ำวระหว่ำงวิธีกำร (กำรแบ่งแยก
โรงเรียนชำยและหญิงล้วน) กับเป้ำหมำยอันเกี่ยวเนื่องกับผลประโยชน์ที่ชอบธรรมของรัฐ
อย่ำงไรก็ตำม ศำลอุทธรณ์กลับค�ำพิพำกษำชั้นต้น โดยให้เหตุผลว่ำ นโยบำยกำรศึกษำที่จ�ำแนก
นักเรียนตำมเพศนั้นมีเหตุผลชอบด้วยกฎหมำย (Legitimate Educational Policy) และเป็นไปในฐำนะวิธีกำรเพื่อบรรลุ
วัตถุประสงค์ที่ชอบธรรมของรัฐ ซึ่งในที่นี้คือกำรส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่ำงมีประสิทธิภำพ เนื่องจำกในขณะนั้น
มีทฤษฎีทำงกำรศึกษำว่ำวัยรุ่นจะเรียนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพเมื่อจัดกำรเรียนแบบแยกเพศ ดังนั้น กำรแบ่งแยกโรงเรียน
384
ดังกล่ำวจึงไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ
385
ต่อมำ ในคดี Mississippi University for Women v. Hogan ชำยผู้ซึ่งสมัครเข้ำเรียนในคณะ
พยำบำลศำสตร์ของมหำวิทยำลัยถูกปฏิเสธด้วยเหตุแห่งเพศ กรณีนี้ ศำลอธิบำยว่ำ นโยบำยของรัฐในกำรจ�ำแนกควำม
แตกต่ำงระหว่ำงบุคคลด้วยเหตุแห่งเพศ (Gender Based Classification) อำจชอบด้วยกฎหมำยหำกมีควำมสัมพันธ์
อย่ำงสมเหตุผลระหว่ำงเป้ำหมำยที่ต้องกำรบรรลุกับวิธีกำรเพื่อน�ำไปสู่เป้ำหมำยนั้น อย่ำงไรก็ตำม คดีนี้ศำลเห็นว่ำ
นโยบำยของมหำวิทยำลัยรัฐซึ่งจ�ำแนกควำมแตกต่ำงของเพศในกำรรับเข้ำศึกษำนั้นอยู่บนข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับบทบาท
ของหญิงและชายที่สะท้อนแนวคิดทางประเพณีซึ่งไม่ถูกต้อง รัฐไม่อำจแสดงให้เห็นว่ำกำรจัดกำรศึกษำให้โอกำสเฉพำะ
เพศหญิงในกำรเข้ำสู่อำชีพพยำบำลนั้นอยู่บนพื้นฐำนของควำมสัมพันธ์ระหว่ำงวิธีกำรและเป้ำหมำยที่รัฐมุ่งประสงค์
อย่ำงไร
386
ในคดี Force v. Pierce City R-VI School District นักเรียนหญิงผู้ประสงค์จะเข้ำรับกำรคัดเลือก
เพื่อเป็นนักฟุตบอลของโรงเรียนถูกปฏิเสธ เนื่องจำกโรงเรียนให้สิทธิเฉพำะนักเรียนชำย ศำลเห็นว่ำเหตุผลของโรงเรียน
ที่อ้ำงถึงกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันดังกล่ำวด้วยเหตุด้านความปลอดภัยนั้นยังไม่ใช่เหตุผลที่เพียงพอ เพรำะในกรณีของ
นักเรียนชำยนั้น สำมำรถมีสิทธิเข้ำรับกำรคัดเลือกไม่ว่ำจะมีควำมแตกต่ำงทำงร่ำงกำยเช่นใด ดังนั้น กำรปฏิบัติที่แตกต่ำง
กันนี้จึงขัดต่อหลักควำมเท่ำเทียมกันตำมรัฐธรรมนูญ
383 From “Vorchheirner v. School District of Philadelphia” 430 U.S. 703 (1977)
384 lbid 381 pp. 261-263.
385 From “Mississippi University for Women v. Hogan” 458 U.S. 718, 725 (1982)
386 From “Force v. Pierce City R-VI School District” 570 F. Supp. 1020 (W.D.Mo, 1983)
392