Page 390 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 390
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
ต่อมำ ในปี ค.ศ. ๑๙๗๘ มีกำรฟ้องคณะกรรมกำรกำรศึกษำเมือง Topeka อีกครั้ง (Board of
Education of Topeka) ที่เรียกว่ำคดี “Brown III” ในคดีนี้โจทก์ฟ้องว่ำ นโยบำยกำรเข้ำเรียนแบบเปิด (Open
Enrollment) ของคณะกรรมกำรศึกษำเมืองดังกล่ำว ส่งผลให้เกิดกำรแบ่งแยก (Segregation) เนื่องจำกผู้ปกครอง
เด็กผิวขำวจะเลือกส่งบุตรตนไปยังโรงเรียนที่ตนชื่นชอบ (Preferred school) อันจะส่งผลให้เกิดกำรแบ่งแยก
โรงเรียนส�ำหรับเด็กผิวขำวและผิวสีในทำงปฏิบัติ ศำลอุทธรณ์ตัดสินว่ำนโยบำยนี้ส่งผลให้เกิดกำรแบ่งแยก
ทั้งนักเรียนและบุคลำกรที่เกี่ยวข้อง ศำลสูงสุดเห็นพ้องกับศำลอุทธรณ์ คดีนี้ส่งผลให้โรงเรียนในเมืองนี้ต้องด�ำเนินกำร
สร้ำงควำมสมดุลทำงเชื้อชำติเพื่อเป็นกำรขจัดกำรแบ่งแยกนักเรียน
หลังจำกคดี Brown รัฐบำลท้องถิ่นมีกำรปรับเปลี่ยนนโยบำยเพื่อขจัดกำรแบ่งแยกนักเรียนตำม
เชื้อชำติ สีผิว อย่ำงไรก็ตำม หลำยท้องถิ่นได้มีกำรก�ำหนดนโยบำยบำงประกำรด้วยวัตถุประสงค์เพื่อท�ำให้เกิดควำมสมดุล
ระหว่ำงนักเรียนต่ำงเชื้อชำติ สีผิว เช่น นโยบำยกำรจัดสรรสิทธิเข้ำเรียนตำมพื้นที่พักอำศัย (Neighborhood Policy)
จึงมีประเด็นว่ำนโยบำยดังกล่ำวเป็นกำรสร้ำงควำมไม่เท่ำเทียมกันและเลือกปฏิบัติอีกหรือไม่ ซึ่งศำลพิจำรณำจำกมูลเหตุ
จูงใจของกำรก�ำหนดนโยบำยว่ำเป็นกำรก�ำหนดด้วยวัตถุประสงค์เพื่อกำรแบ่งแยกหรือจ�ำแนกควำมแตกต่ำงทำงเชื้อชำติ
สีผิว หรือไม่ หำกกำรก�ำหนดนโยบำยดังกล่ำวเป็นไปเพื่อสร้ำงควำมสมดุลระหว่ำงเด็กต่ำงเชื้อชำติ สีผิว ให้มีโอกำส
เรียนอย่ำงเท่ำเทียมกันแล้ว ก็ไม่เป็นกำรฝ่ำฝืนต่อกฎหมำย เช่น
378
คดี Diaz v. San Jose Unified School District เป็นกรณีที่เขตกำรศึกษำในเมือง San Jose
มีนโยบำย “Neighborhood Policy” ในกำรรับนักเรียนที่พักอำศัยอยู่ในเขตพื้นที่ของโรงเรียน ท�ำให้สำมำรถเดินทำง
ไปเรียนใกล้บ้ำน โจทก์โต้แย้งว่ำนโยบำยดังกล่ำวส่งผลให้เกิดกำรเลือกปฏิบัติและไม่เท่ำเทียมกันด้ำนเชื้อชำติ เป็นกำร
แบ่งแยกนักเรียน คดีนี้ศำลชั้นต้นตัดสินว่ำนโยบำยดังกล่ำวไม่มีเจตนำแบ่งแยก (Segregative Intent) แต่ศำลอุทธรณ์
ไม่เห็นด้วย และตัดสินให้เมืองดังกล่ำวก�ำหนดนโยบำยขจัดกำรแบ่งแยก (Desegregation Policy)
379
คดี Swann v. Charlotte-Mecklenburg Board of Education หลังจำกคดี Brown ส่งผลให้
รัฐบำลท้องถิ่นต่ำง ๆ ปรับเปลี่ยนนโยบำยในกำรรับนักเรียนโดยไม่จ�ำแนกโรงเรียนส�ำหรับเด็กผิวขำวและผิวสี กรณีนี้
เมือง Charlotte ในมลรัฐ North Carolina ได้ปรับนโยบำยรับเด็กเข้ำเรียนตำมพื้นที่ อย่ำงไรก็ตำม ปรำกฏว่ำเขตกำร
ศึกษำของเมืองนี้ประกอบด้วยพื้นที่ประมำณ ๕๕๐ ตำรำงไมล์ โดยนักเรียนผิวสีส่วนมำกจะอยู่อำศัยบริเวณใจกลำงเมือง
และเข้ำเรียนในโรงเรียนบำงแห่งบริเวณนั้น ในขณะที่นักเรียนผิวขำวส่วนใหญ่ซึ่งอยู่ห่ำงออกไป ท�ำให้ยังคงเกิดสภำพกำร
แบ่งแยกโรงเรียนส�ำหรับเด็กผิวสีและเด็กผิวขำว จึงมีกำรก�ำหนดนโยบำยรถนักเรียนเพื่อรับนักเรียนผิวสีไปเรียนที่โรงเรียน
ซึ่งมีเด็กผิวขำวส่วนมำกเรียนอยู่ โจทก์ฟ้องว่ำนโยบำยรถนักเรียนดังกล่ำวเป็นกำรจ�ำแนกควำมแตกต่ำงและไม่เท่ำเทียม
กัน ศำลตัดสินว่ำนโยบำยนี้เป็นกำรแก้ปัญหำควำมไม่สมดุลทำงเชื้อชำติ (Racial Imbalance) แม้ว่ำควำมไม่สมดุล
ดังกล่ำวเกิดจำกกำรก�ำหนดให้นักเรียนเข้ำเรียนตำมพื้นที่ (Neighborhood Policy) แต่ก็ไม่ได้เกิดจำกมูลเหตุจูงใจใน
กำรแบ่งแยกสีผิว ดังนั้น นโยบำยนี้จึงมีควำมเหมำะสมเพื่อให้นักเรียนมีโอกำสเรียนเท่ำเทียมกัน
จำกประเด็นกรณีศึกษำที่น�ำมำวิเครำะห์นี้ชี้ให้เห็นถึงบริกำรภำครัฐที่อำจมีลักษณะปฏิบัติต่อบุคคล
แตกต่ำงกันได้ หำกเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ที่ชอบด้วยกฎหมำย และมุ่งสู่ควำมเท่ำเทียมกันในเชิงสำระ (Substantive
378
th
From “Diaz v. San Jos6 Unified School District” 733 F.2d. 660 (9 Cir. 1984)
379
From “Swann v. Charlotte-Mecklenburg Board of Education” 402 U.S. 1 (1971)
389