Page 391 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 391

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ





          Equality) แต่หำกกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันนั้นมีลักษณะเป็นกำรท�ำให้เกิดควำมแตกต่ำงกันระหว่ำงบุคคลด้วยเหตุ
          เชื้อชำติ สีผิว ก็จะเป็นกำรไม่สอดคล้องกับหลักควำมเท่ำเทียมกัน นอกจำกนี้ ยังอำจพิจำรณำได้ว่ำนโยบำยบำงอย่ำง
          ของรัฐที่มีลักษณะส่งเสริมหรือให้สิทธิแก่บุคคลบำงกลุ่ม หำกเป็นไปเพื่อสร้ำงควำมเท่ำเทียมกันแล้วก็เป็นกำรชอบด้วย

          กฎหมำย ซึ่งมีลักษณะเป็น “มำตรกำรยืนยันสิทธิเชิงบวก” ดังที่ได้วิเครำะห์มำแล้วนั่นเอง


                 ๔.๑๒.๒ หลักความเท่าเทียมด้านเชื้อชาติ (Racial equality doctrine) และปัจจัยที่จับต้อง

          ไม่ได้ (Intangible factor)
                         นับจำกคดี Plessey v. Ferguson ในปี ค.ศ. ๑๘๙๖ ศำลก็มีแนวโน้มทบทวนแนวค�ำพิพำกษำใหม่โดย

          มุ่งเน้นควำมเท่ำเทียมกัน ในกำรนี้ ศำลได้สร้ำงหลักควำมเท่ำเทียมด้ำนเชื้อชำติ (Racial equality doctrine) ในบริบท
          กำรให้บริกำรด้ำนกำรศึกษำขึ้น เพื่อแก้ปัญหำกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุเชื้อชำติ สีผิว กล่ำวคือ ศำลวำงหลักว่ำ นโยบำย
          หรือกฎหมำยตำมแนวคิด “กำรแบ่งแยกแต่เท่ำเทียมกัน” (Separate but equal) นั้น หำกส่งผลให้กลุ่มคนกลุ่มหนึ่งถูก

          ปฏิเสธด้วยปัจจัยที่จับต้องไม่ได้ (Intangible Factor) แล้วก็จะเป็นกำรเลือกปฏิบัติขัดต่อหลักควำมเท่ำเทียมกัน อย่ำงไร
          ก็ตำม ปัญหำว่ำอะไรคือ “ปัจจัยที่จับต้องไม่ได้ (Intangible Factor)” นั้น ยังไม่ชัดเจน ทั้งนี้ ขึ้นกับค�ำพิพำกษำในแต่ละคดี
                                                                                 380
                         ตัวอย่ำงเช่น ในคดี McLaurin v. Oklahoma State Regents  ศำลเห็นว่ำ กำรแบ่งแยก
          โรงเรียนด้วยสำเหตุด้ำนเชื้อชำติ ส่งผลให้บุคคลบำงกลุ่มถูกปฏิเสธเสียซึ่งควำมสำมำรถในกำรเข้ำเรียน กำรแลกเปลี่ยน
          ควำมคิดเห็น และกำรเรียนรู้ ศำลให้เหตุผลว่ำ ในกำรที่มลรัฐจะขจัดเสียซึ่งอุปสรรคของโอกำสที่เท่ำเทียมกันนั้น ไม่จ�ำต้อง

          ขจัดอคติทั้งหมดในทุกรูปแบบ (All forms of prejudice) เพียงแต่ต้องท�ำให้บุคคลไม่ถูกพรำกไปเสียซึ่งโอกำสที่จะได้
          รับกำรยอมรับด้วยเหตุแห่งควำมสำมำรถของแต่ละบุคคล โดยไม่ถูกจ�ำแนกกลุ่มอย่ำงอัตโนมัติและคัดแยกไว้ในกลุ่มใด
          กลุ่มหนึ่งโดยเฉพำะ

                         ศำลสูงสุดของสหรัฐอเมริกำได้อธิบำย “ปัจจัยที่จับต้องไม่ได้ (Intangible Factor)” ไว้อย่ำงละเอียด
                               381
          ในคดี Sweatt v. Painter
                         คดีนี้เป็นกรณีโจทก์ซึ่งเป็นคนผิวสีถูกปฏิเสธกำรรับเข้ำเรียนในคณะนิติศำสตร์ มหำวิทยำลัยเท็กซัส

          โดยในขณะนั้นทำงมลรัฐมีกำรจัดตั้งมหำวิทยำลัยส�ำหรับคนผิวสีโดยเฉพำะ ตำมแนวคิด กำรแบ่งแยกแต่เท่ำเทียม
          ประเด็นของคดีที่ส�ำคัญที่ศำลสูงสุดพิจำรณำก็คือ แม้ว่ำโจทก์จะยังคงมีโอกำสในกำรศึกษำกล่ำวคือสำมำรถเข้ำศึกษำ

          ในมหำวิทยำลัยอื่นที่จัดไว้ส�ำหรับคนผิวสีโดยเฉพำะ แต่นโยบำยดังกล่ำวก็เป็นกำรเลือกปฏิบัติและท�ำให้เกิดควำม
          ไม่เท่ำเทียมกัน โดยศำลได้ชี้ให้เห็นปัจจัยที่แตกต่ำงกันระหว่ำงมหำวิทยำลัยส�ำหรับคนผิวขำวและผิวสี เช่น
                          มหำวิทยำลัยเท็กซัส มีอำจำรย์ประจ�ำ ๑๖ คน ในขณะที่มหำวิทยำลัยส�ำหรับคนผิวสีมีอำจำรย์

          ประจ�ำเพียง ๕ คน
                          มหำวิทยำลัยเท็กซัส มีนักศึกษำ ๘๕๐ คน และมีจ�ำนวนหนังสือในห้องสมุด ๖๕๐,๐๐๐ เล่ม ใน

          ขณะที่มหำวิทยำลัยส�ำหรับคนผิวสีมีนักศึกษำ ๒๓ คนและมีหนังสือในห้องสมุดเพียง ๑๖,๕๐๐ เล่ม
                          มหำวิทยำลัยเท็กซัส มีโครงกำรสนับสนุนกำรศึกษำ เช่น ศำลจ�ำลอง (Moot Court) รวมทั้ง
          นักศึกษำมีโอกำสเข้ำร่วมในกำรฝึกงำนภำคปฏิบัติ ในขณะที่มหำวิทยำลัยส�ำหรับคนผิวสีมีโครงกำรสนับสนุนกำรศึกษำ

          ดังกล่ำวน้อยกว่ำ


                 380
                    From “McLaurin v. Oklahoma State Regents” 339 U.S. 637 (1950)
                 381
                    From “Sweatt v. Painter” 339 U.S.629 (1950)


                                                         390
   386   387   388   389   390   391   392   393   394   395   396