Page 389 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 389
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
ใกล้บ้ำนมำกกว่ำที่จะต้องเดินทำงไกลออกไปเพื่อเรียน
ในโรงเรียนส�ำหรับเด็กผิวสี ศำลชั้นต้นตัดสินตำมหลัก
“กำรแบ่งแยกแต่เท่ำเทียมกัน” (Separate but Equal)
เนื่องจำกแม้มีกำรแบ่งแยกโรงเรียนแต่เด็กผิวสีก็ยังสำมำรถ
เข้ำถึงกำรศึกษำได้ แต่ศำลสูงสุดกลับหลักคดีข้ำงต้นโดยตัดสิน
ว่ำ กำรแบ่งแยกโรงเรียนตำมสีผิวของนักเรียนเป็นกำรขัดต่อหลัก
ควำมเท่ำเทียมกัน (Equal Protection Clause) ตำมรัฐธรรมนูญ
ฉบับแก้ไขครั้งที่ ๑๔ ศำลให้เหตุผลว่ำ กำรแบ่งแยกโรงเรียนนั้นโดย
เนื้อแท้แล้วเป็นควำมไม่เท่ำเทียมกัน (Inherently Unequal) ทั้งนี้แม้ว่ำ
จะมีกำรจัดโรงเรียนส�ำหรับเด็กทั้งสองกลุ่มแล้วแต่เป็นกำรตัดสิทธิ์ของเด็กผิวสี
ที่จะได้รับกำรศึกษำอย่ำงเท่ำเทียมกันในกำรเข้ำรับกำรศึกษำระบบผสมผสำน (Integrated School System) กำรแบ่ง
แยกโดยกฎหมำย ยังส่งผลสะท้อนถึงกำรปฏิบัติที่ด้อยกว่ำต่อเด็กผิวสี
373
ในปีเดียวกันมีคดี Bolling v. Sharpe ซึ่งศำลสูงสุดสหรัฐตัดสินในแนวทำงเช่นเดียวกับคดี Brown
กล่ำวคือ กำรแบ่งแยก (Segregation) โรงเรียนส�ำหรับเด็กผิวสีและผิวขำวนั้นเป็นกำรไม่ชอบเพรำะขัดต่อรัฐธรรมนูญ
374
ฉบับแก้ไขครั้งที่ ๕
แม้ว่ำคดี Brown จะส่งผลเป็นกำรสนับสนุนแนวคิดของฝ่ำยเรียกร้องสิทธิพลเมือง (Civil Right) แต่
ค�ำพิพำกษำก็มิได้ระบุชัดถึงวิธีกำร (Method) ในกำรขจัดเสียซึ่งกำรจ�ำแนกควำมแตกต่ำงในโรงเรียน (Desegregation)
นอกจำกนี้ ในทำงกฎหมำยแล้วปรำกฏว่ำยังมีกฎหมำยมลรัฐและกฎหมำยท้องถิ่นที่มีหลักกำรแบ่งแยกสีผิวหรือเชื้อชำติ
375
อยู่ ดังนั้นในปี ๑๙๕๔ โจทก์ในคดีก่อนจึงมีกำรน�ำคดีมำสู่ศำลสูงสุดอีกครั้ง (เรียกว่ำคดี “Brown II” ) ซึ่งศำลตัดสิน
ว่ำกำรขจัดกำรจ�ำแนกควำมแตกต่ำง (Desegregation) จะต้องด�ำเนินไปอย่ำงรอบคอบ (With all Deliberate Speed)
ซึ่งยังมีควำมไม่ชัดเจนแน่นอนว่ำจะต้องด�ำเนินกำรเมื่อใดและอย่ำงไร ด้วยเหตุนี้ท้องถิ่นต่ำง ๆ จึงมีกำรด�ำเนินกำรลด
ควำมแตกต่ำงนั้นอย่ำงล่ำช้ำ นอกจำกนื้ ท้องถิ่นบำงแห่งมีกำรปิดโรงเรียนของรัฐโดยใช้น�ำเงินไปสนับสนุนสถำบันกำร
376
ศึกษำเอกชนซึ่งเปิดรับเฉพำะนักเรียนผิวขำวแทน ดังนั้น จึงเกิดมีคดีฟ้องร้องในประเด็นกำรปิดโรงเรียนของรัฐดังกล่ำว
377
เช่น Griffin v. County School Board of Prince Edward County ศำลสูงสุดตัดสินว่ำคณะกรรมกำรโรงเรียน
ท้องถิ่นซึ่งตัดสินใจปิดโรงเรียนของรัฐและให้บัตร (Voucher) ส�ำหรับนักเรียนในกำรเข้ำเรียนโรงเรียนเอกชนนั้นเป็นกำร
ขัดต่อรัฐธรรมนูญ เนื่องจำกละเมิดต่อหลักกำรคุ้มครองควำมเท่ำเทียมกันตำมรัฐธรรมนูญ (Equal Protection)
373
From “Bolling v. Sharpe” 347 U.S. 497 (1954)
374
ซึ่งวำงหลักกระบวนกำรที่ชอบด้วยกฎหมำย (Due process clause) ทั้งนี้ เนื่องจำกรัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขครั้งที่
๕ มิได้มีหลักควำมเท่ำเทียมกัน (Equal protection) ดังเช่นรัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขครั้งที่ ๑๔ และในคดีนี้มีควำมแตกต่ำงจำกคดี
Brown เนื่องจำกไม่อำจปรับใช้รัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขครั้งที่ ๑๔ กับกรณีได้เนื่องจำกจะต้องเป็นกำรอ้ำงยันต่อรัฐ (State) แต่กรณีนี้
เป็นเขต District of Columbia
375
From “Brown v. Board of Education of Topeka” 349 U.S. 294 (1955)
376
From They Closed Their School by Bob Smith, 1990, University of North Carolina Press
377
From “Griffin v. County School Board of Prince Edward County” 377 U.S. 218 (1964)
388