Page 388 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 388

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





                        กรณีแรก หำกตีควำมตำมแนวทำงของต่ำงประเทศแล้ว อำจสำมำรถจัดอยู่ในเหตุแห่ง “เพศ” ได้ ซึ่งหำก
                  พิจำรณำตำมนัยนี้ กำรเลือกปฏิบัติบุคคลผู้ให้นมบุตรจำกอกแม่ อำจปรับใช้กฎหมำยเฉพำะ เช่น พระรำชบัญญัติ
                  ควำมเท่ำเทียมระหว่ำงเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘ นอกจำกนี้ หำกมีกำรเลือกปฏิบัติต่อผู้ให้นมบุตรซึ่งเป็นบุคคลอำยุไม่ถึง

                  ยี่สิบปีบริบูรณ์ อำจปรับใช้หลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัติกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำกำรตั้งครรภ์
                  ในวัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้ อย่ำงไรก็ตำม ยังอำจมีปัญหำในมิติอื่น ๆ เช่น ควำมชัดเจนของกำรคุ้มครองบุคคล
                  ดังกล่ำวในมิติของกำรจ้ำงแรงงำนตำมกฎหมำยแรงงำน เป็นต้น

                        กรณีที่สอง เพื่อควำมชัดเจนในกำรคุ้มครองบุคคลผู้ถูกเลือกปฏิบัติจำกกำรให้นมบุตรจำกอกแม่ จึงน�ำ
                  ไปสู่ข้อเสนอแนะในกำรปรับปรุงแก้ไขกฎหมำยเพื่อเพิ่มเหตุดังกล่ำวเป็นกำรเฉพำะดังเช่นกฎหมำยต่ำงประเทศ

                  ทั้งนี้ โดยอำจก�ำหนดหลักกำรและรำยละเอียดเกี่ยวกับกำรห้ำมเลือกปฏิบัติในกรณีนี้เพิ่มเติมในกฎหมำยแรงงำน
                  ดังเช่นแนวทำงของต่ำงประเทศ






               ๔.๑๒ การเลือกปฏิบัติในมิติบริการภาครัฐ: กรณีการศึกษา




                       ในหัวข้อนี้จะได้ศึกษำวิเครำะห์ประเด็นกำรเลือกปฏิบัติในมิติกำรศึกษำ โดยมีขอบเขตกรณีกำรศึกษำที่เป็น
               บริกำรภำครัฐ ซึ่งจะเลือกกฎหมำยสหรัฐอเมริกำมำวิเครำะห์โดยมุ่งเน้นประเด็นเกี่ยวกับควำมเสมอภำคในกำรศึกษำ

               และประเด็นกำรแบ่งแยกบุคคลด้วยเหตุที่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ จำกนั้นจะวิเครำะห์เปรียบเทียบกับ
               กฎหมำยไทยที่เกี่ยวข้อง



                       ๔.๑๒.๑ บริการด้านการศึกษาของภาครัฐที่มีลักษณะแบ่งแยกระหว่างกลุ่มคน (Segregation)
                               ตำมกฎหมำยสหรัฐอเมริกำนั้น หลักควำมเท่ำเทียมกัน (Equal Protection Clause) ปรำกฏใน

               รัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขครั้งที่ ๑๔ (Fourteenth Amendment) ดังนั้น โดยหลักแล้วบุคคลย่อมมีสิทธิในกำรศึกษำอย่ำง
               เท่ำเทียมและกำรแบ่งแยกหรือจ�ำแนกบุคคลในมิติกำรศึกษำก็จะเป็นกำรขัดต่อหลักดังกล่ำว อย่ำงไรก็ตำม ใน

               สหรัฐอเมริกำนั้น มีประเด็นกำรรับเด็กเข้ำเรียนในโรงเรียนเนื่องจำกมีกำรแบ่งแยกโรงเรียนส�ำหรับเด็กผิวสีและผิวขำว
                                                          371
               ในปี ค.ศ. ๑๘๙๖ ศำลในคดี Plessey v. Ferguson  วำงหลักว่ำ กำรที่กฎหมำยมลรัฐก�ำหนดกำรแบ่งแยกโรงเรียน
               ของรัฐตำมสีผิว (Racial Segregation Law) นั้นไม่ขัดต่อหลักควำมเท่ำเทียมกันตำมรัฐธรรมนูญ หำกคนผิวขำวและ

               ผิวสีต่ำงก็สำมำรถเข้ำถึงกำรศึกษำได้เช่นเดียวกัน หรือเรียกว่ำ “กำรแบ่งแยกแต่เท่ำเทียมกัน” (Separate but Equal)
               ซึ่งกลำยเป็นหลักกฎหมำยที่ส�ำคัญในสหรัฐ จนกระทั่งปี ค.ศ. ๑๙๕๔ เมื่อศำลสูงสุดตัดสินในคดี Brown v. Board of
                                   372
               Education of Topeka   ได้ตัดสินในประเด็นเช่นเดียวกันนี้อีกครั้ง
                               ในคดีนี้คณะกรรมกำรกำรศึกษำ (Board of Education of Topeka) แบ่งแยกโรงเรียนตำมผิวสีของ
               นักเรียน ซึ่งกฎหมำยอนุญำตให้ท�ำเช่นนั้นได้ ผู้ปกครองนักเรียนผิวสีต้องกำรให้บุตรเข้ำโรงเรียนคนผิวขำวด้วยสำเหตุที่อยู่




                      371
                          From “Plessy v. Ferguson” 163 U.S. 537 (1896)
                      372
                          From “Brown v. Board of Education of Topeka” 347 U.S. 483 (1954)




                                                               387
   383   384   385   386   387   388   389   390   391   392   393