Page 386 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 386

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ




                                  กำรห้ำมเลือกปฏิบัติต่อหญิงผู้ตั้งครรภ์ รวมถึงสิทธิในกำรให้นมบุตรโดยปรำศจำกกำรรบกวน
               ขัดขวำง ผู้หญิงไม่ควรที่จะได้รับกำรแจ้งว่ำตนไม่สำมำรถให้นมบุตรได้เนื่องจำกอยู่ในสถำนที่สำธำรณะ ผู้หญิงไม่ควรถูก

               ร้องขอให้ต้องปกคลุมร่ำงกำยในกำรให้นมบุตร หรือย้ำยไปยังพื้นที่อื่นตำมอ�ำเภอใจของผู้ร้องขอ
                                  นำยจ้ำง ผู้ให้เช่ำ หรือผู้ให้บริกำร ต้องให้ควำมส�ำคัญต่อกำรเลือกปฏิบัติหรือกำรคุกคำมใด ๆ ที่
               เกี่ยวกับกำรตั้งครรภ์ในองค์กร หำกมีกำรร้องเรียนเกี่ยวกับกำรเลือกปฏิบัติหรือกำรคุกคำมในที่ท�ำงำน ไม่ว่ำด้วยค�ำร้อง

               หรือวิธีอื่นใด องค์กรนั้นจะต้องมีกำรตอบสนองอย่ำงเหมำะสม องค์กรที่เพิกเฉยหรือไม่ด�ำเนินกำรต่อกำรร้องเรียน
               ดังกล่ำวอำจถือได้ว่ำเป็นกำรฝ่ำฝืนประมวลกฎเกณฑ์สิทธิมนุษยชนของ Ontario



                       ๔.๑๑.๕ วิเคราะห์เปรียบเทียบกับกฎหมายไทย
                                กำรเลือกปฏิบัติต่อหญิงที่ให้นมบุตรนั้น เมื่อพิจำรณำกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติจะเห็นได้ว่ำ

               “กำรให้นมบุตรจำกอกแม่” หรือ “Breastfeeding” นั้น มิได้เป็นเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติที่ก�ำหนดไว้ในกฎหมำยสิทธิ
               มนุษยชนระหว่ำงประเทศ แต่ในกฎหมำยต่ำงประเทศได้มีกำรก�ำหนดกำรคุ้มครองกำรเลือกปฏิบัติจำกเหตุนี้ โดยอำจ
               จ�ำแนกลักษณะหรือรูปแบบกำรคุ้มครองได้ ดังนี้

                                กรณีแรก ระบุเป็นเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติโดยเฉพำะ: ส�ำหรับบำงประเทศ เช่น ออสเตรเลียนั้น
               กำรให้นมบุตรจำกอกแม่ (Breastfeeding) ถูกระบุเป็นเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติชนิดหนึ่งตำมกฎหมำยเกี่ยวกับกำรห้ำม

               เลือกปฏิบัติ โดยแยกต่ำงหำกจำกกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ
                                กรณีที่สอง ไม่ระบุเป็นเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติโดยเฉพำะ: ส�ำหรับในบำงประเทศ แม้กำรให้นม
               บุตรจำกอกแม่ (Breastfeeding) มิได้เป็นเหตุเฉพำะของกำรเลือกปฏิบัติ แต่จำกกำรตีควำมและแนวปฏิบัติของคณะ

               กรรมกำรสิทธิมนุษยชนแคนำดำ ถือว่ำกำรที่หญิงผู้ให้นมบุตรได้รับกำรเลือกปฏิบัติในรูปแบบต่ำง ๆ นั้น สืบเนื่องจำกเหตุ
                                                                                                             370
               แห่งควำมเป็นผู้หญิงและเหตุที่หญิงนั้นตั้งครรภ์ จึงเป็นกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ (Sexual discrimination)
                                กฎหมำยสิทธิมนุษยชนของแคนำดำ รวมถึงแนวปฏิบัติในระดับมลรัฐ ทั้งกรณีของ British Columbia

               และ Ontario แสดงให้เห็นหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติหญิงผู้ให้นมบุตร โดยกำรให้นมบุตรในที่สำธำรณะ แสดงให้เห็นถึง
               มิติของกำรเลือกปฏิบัติด้ำนต่ำง ๆ ทั้งกำรจ้ำงแรงงำน กำรให้บริกำรสิ่งอ�ำนวยควำมสะดวกสำธำรณะ
                               ส�ำหรับในกรณีของกำรจ้ำงแรงงำน นั้นพฤติกรรมกำรเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับกำรให้นมบุตรจะเกี่ยวข้อง

               กับกำรกระท�ำ เช่น กำรห้ำมให้นมบุตรในสถำนที่ท�ำงำน กำรจัดให้ลูกจ้ำงหญิงผู้ประสงค์ให้นมบุตรแยกตัวออกไปให้นม
               บุตรในสถำนที่ไม่เหมำะสมหรือไม่ถูกสุขอนำมัย เช่น ในห้องน�้ำ รวมทั้งกฎระเบียบเกี่ยวกับกำรท�ำงำนที่เป็นอุปสรรคหรือ

               ไม่สะดวกส�ำหรับกำรให้นมบุตร เช่น เวลำพัก เวลำท�ำงำน ที่ไม่ยืดหยุ่นส�ำหรับลูกจ้ำงหญิงผู้ให้นมบุตร


                        เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมายไทย อาจจ�าแนกเป็นประเด็นต่าง ๆ ได้ ดังนี้
                         เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมำยสหรัฐอเมริกำแล้วพบว่ำ ไทยไม่มีกฎหมำยอนุญำตให้ผู้หญิงให้นมบุตร
                  จำกอกในที่สำธำรณะได้ รวมทั้งไม่มีกำรก�ำหนดยกเว้นกำรให้นมบุตรจำกอกจำกกำรเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมำะสม

                  โดยเฉพำะลำมกอนำจำรตำมประมวลกฎหมำยอำญำ ซึ่งยังไม่มีแนวค�ำวินิจฉัยของศำลว่ำกำรให้นมบุตรจำกอกแม่
                  ในที่สำธำรณะจะถือเป็นกำรกระท�ำอนำจำรหรือไม่






                      370
                          From British Columbia Human Right Commission Policy and Procedural Manual Retrieved from
               http://www.infactcanada.ca/br_bc_humanrights.html


                                                               385
   381   382   383   384   385   386   387   388   389   390   391