Page 369 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 369

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ





          คนที่ไม่ได้มีควำมชั่วร้ำยเหมือนอย่ำงพวกอำชญำกร เช่น ผู้กระท�ำควำมผิดตำม พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ ซึ่งท�ำแค่โพสต์ข้อมูล
          ด่ำกันหรือแชร์ข้อมูลที่หมิ่นประมำทคนอื่น ก็มีควำมผิดติดคุกได้แล้ว เพียงแค่นี้ก็กลำยเป็นคนมีประวัติติดตัวเสียอนำคต
          ไปหมด...” จำกข้อมูลนี้เมื่อพิจำรณำกฎหมำยที่เกี่ยวข้องพบว่ำ ในปัจจุบันมีกฎหมำยบำงฉบับที่ก�ำหนดควำมผิดอำญำ

          อันมิใช่ควำมผิดที่กระท�ำโดยประมำทหรือลหุโทษ แต่ก็มิได้มีลักษณะเป็นควำมผิดร้ำยแรงอันอำจเกี่ยวข้องกับ “คุณสมบัติ
          อันเป็นสำระส�ำคัญของงำน” โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง พระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกระท�ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
          ๒๕๕๐ ซึ่งมีฐำนควำมผิดเกี่ยวกับกำรเผยแพร่เนื้อหำข้อมูล โดยมีองค์ประกอบที่กว้ำง ซึ่งเมื่อพิจำรณำพฤติกรรมของบุคคล

                                                                                                     327
          ในยุคปัจจุบันที่ใช้อุปกรณ์สื่อสำรข้อมูลคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจ�ำวันกันทั่วไปแล้ว มีโอกำสเป็นผู้กระท�ำควำมผิด  ซึ่ง
          มีโทษจ�ำคุกสูงสุดห้ำปี อันไม่ใช่ควำมผิดที่กระท�ำโดยประมำทหรือลหุโทษ ท�ำให้บุคคลทั่วไปอำจมีประวัติควำมผิดอำญำ

          ได้โดยง่ำย หำกพิจำรณำระเบียบส�ำนักงำนต�ำรวจแห่งชำติว่ำด้วยประมวลระเบียบกำรต�ำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่
          ๓๒ กำรพิมพ์ลำยนิ้วมือ พ.ศ. ๒๕๕๔ จะเห็นได้ว่ำ ผู้ต้องหำคดีเกี่ยวกับควำมผิดทำงคอมพิวเตอร์จะต้องถูกเก็บข้อมูลลำย
          พิมพ์นิ้วมือ ซึ่งข้อมูลนี้จะยังคงอยู่เพื่อกำรตรวจสอบประวัติอำชญำกรรมต่อไปในกรณีของกำรจ้ำงแรงงำนทั้งภำครัฐและ

          เอกชน แม้ว่ำจะถูกศำลพิพำกษำให้จ�ำคุกแต่รอลงอำญำไว้ ประวัติดังกล่ำวก็ยังคงปรำกฏอยู่ อย่ำงไรก็ตำม เมื่อพิจำรณำ
          ควำมผิดของบุคคลเหล่ำนี้ อำจเป็นกรณีกำรเผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูลข่ำวสำรที่ “เป็นเท็จ” ทำงระบบคอมพิวเตอร์และ

          เข้ำองค์ประกอบควำมผิดได้ จะเห็นได้ว่ำ โดยทั่วไปคล้ำยคลึงกับควำมผิดฐำนหมิ่นประมำท ซึ่งเมื่อพิจำรณำคุณสมบัติ
                                                                                              328
          ของงำนทั่วไปแล้ว กำรที่บุคคลเคยกระท�ำควำมผิดเช่นนี้อำจไม่ใช่ “คุณสมบัติอันเป็นสำระส�ำคัญของงำน”  ส�ำหรับงำน
          ทุกต�ำแหน่ง ดังนั้น กฎหมำยหรือระเบียบที่ก�ำหนดคุณสมบัติเกี่ยวกับโทษจ�ำคุกจึงท�ำให้บุคคลที่ได้รับโทษตำมกฎหมำย

          นี้ถูกตัดโอกำสกำรท�ำงำนไปด้วย
                             หำกเปรียบเทียบกับกฎหมำยออสเตรเลีย จะเห็นได้ว่ำ กฎหมำยก�ำหนดไว้ชัดเจนถึงหลัก
          “คุณสมบัติอันจ�ำเป็นและเกี่ยวข้องกับงำน” นอกจำกนี้ คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนออสเตรเลียยังได้พิจำรณำในรำย

          ละเอียดของควำมผิดอำญำที่มีประวัติและควำมเกี่ยวข้องกับงำนแต่ละงำนเป็นกรณีไป เช่น กรณีผู้ร้องสมัครงำนใน
                                                                                       329
          ต�ำแหน่งผู้ช่วยในบำร์ แต่ถูกปฏิเสธด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรมที่เคยลักทรัพย์เมื่อครั้งเป็นผู้เยำว์   คณะกรรมกำรสิทธิ
          มนุษยชนออสเตรเลียเห็นว่ำ ผู้ร้องถูกเลือกปฏิบัติด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรม ไม่เข้ำข้อยกเว้น “คุณสมบัติอันจ�ำเป็น

          และเป็นสำระส�ำคัญของงำนนั้น” หรือกรณีผู้ร้องสมัครงำนในต�ำแหน่งพนักงำนสื่อสำร (Communication Offer) ของ
          ศูนย์บริกำรโทรศัพท์ฉุกเฉิน (Emergency Service Telecommunications หรือ ESTA) แต่ไม่ได้รับกำรคัดเลือกด้วย

          เหตุที่เคยมีประวัติอำชญำกรรมควำมผิดฐำนดื่มแอลกอฮอล์และขับรถ คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนออสเตรเลียเห็นว่ำ





                 327   มำตรำ ๑๔ พระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกระท�ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐; รำยกำรมติทอล์ค ตอน (แค่)

          กดไลค์เข้ำข่ำยผิดกฎหมำย!?, สัมภำษณ์ คณำธิป ทองรวีวงศ์, คณะบดีคณะนิติศำสตร์ มหำวิทยำลัยเซนต์จอห์น, ๑๑ ธันวำคม ๒๕๕๘
                 328     ส�ำหรับร่ำงแก้ไขพระรำชบัญญัติกำรกระท�ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. .... ที่มีกำรน�ำเข้ำสู่กำรพิจำรณำของสภำ
          นิติบัญญัติแหงชำติในเดือนเมษำยน ๒๕๕๙ นั้นก็ยังคงมีองค์ประกอบที่กว้ำงอันอำจท�ำให้บุคคลทั่วไปสำมำรถตกเป็นผู้กระท�ำผิดโดยง่ำย
          อยู่นั่นเอง ส�ำหรับงำนวิจัยนี้ไม่มีขอบเขตในกำรศึกษำและน�ำเสนอข้อเสนอแนะเกี่ยวกับพระรำชบัญญัตินี้ แต่ศึกษำ “ผลกระทบต่อเนื่อง”
          ต่อสิทธิเสรีภำพของประชำชนผู้ต้องรับโทษจำกพระรำชบัญญัติดังกล่ำว  โดยกลำยเป็นผู้มีประวัติควำมผิดอำญำและส่งผลต่อไปในกำร
          ถูกเลือกปฏิบัติในมิติของกำรจ้ำงแรงงำน ; ประเด็นปัญหำของร่ำง พ.ร.บ นี้กับสิทธิเสรีภำพของประชำชน ดูเพิ่มเติมได้ใน: คณำธิป ทอง
          รวีวงศ์ (สัมภำษณ์), ช�ำแหละ พ.ร.บ.คอมฯ ใหม่ ยังคงน่ำกลัวเหมือนเดิม”, มติชน ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๑๘๖๔ , ๖ พฤษภำคม ๒๕๕๙ น. ๑๓
                 329    From “Ms. Renai Christensen v. Adelaide Casino Pty Ltd,” HREOC Report No. 20





                                                         368
   364   365   366   367   368   369   370   371   372   373   374