Page 371 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 371
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
กำรปฏิบัติหน้ำที่ในอนำคตต่อไปหรือกระทบต่อควำมน่ำเชื่อถือของกำรประกอบอำชีพรักษำควำมปลอดภัย โดยมิได้
วำงหลักในลักษณะของ “ภำพเหมำรวม” (Stereotype) ว่ำควำมผิดอำญำทุกอย่ำงเป็นคุณสมบัติ “ไม่เหมำะสมกับ
งำนทุกประเภท”
ดังนั้น อำจสรุปได้ว่ำแม้หลัก “คุณสมบัติอันจ�ำเป็นและเกี่ยวข้องกับงำน” อำจมีกำรใช้ค�ำแตกต่ำง
กันไปตำมกฎหมำยแต่ละประเทศ แต่สำระส�ำคัญก็คือ กำรน�ำประวัติอำชญำกรรมมำประกอบกำรตัดสินใจเกี่ยวกับ
กำรจ้ำงแรงงำนทั้งในระดับของกำรตัดสินใจจ้ำงหรือกำรตัดสินใจเกี่ยวกับเงื่อนไขในกำรท�ำงำน อำจท�ำได้โดยไม่ถือว่ำ
เป็นกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน หำกกำรกระท�ำเช่นนั้นมีเหตุผลสมควร เนื่องจำกมีควำมสัมพันธ์หรือ
ควำมเกี่ยวข้องระหว่ำงประวัติอำชญำกรรม กับงำนที่บุคคลนั้นประสงค์จะสมัครหรือท�ำงำนอยู่ กล่ำวคือ คุณสมบัติ
เกี่ยวกับกำรมีอยู่หรือไม่มีอยู่ของประวัติอำชญำกรรมนั้นเป็นคุณสมบัติที่ส�ำคัญอันเกี่ยวกับงำนนั้นโดยสุจริต (Good
faith or Bona Fide occupational qualification) หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ไม่ได้อยู่บนพื้นฐำนของอคติหรือกำรสร้ำงภำพ
เหมำรวมซึ่งไม่เกี่ยวข้องใด ๆ กับกำรท�ำงำนนั้น หลักกำรพิจำรณำเช่นนี้ท�ำให้ไม่อำจสรุปเป็นกำรทั่วไป (Generalization)
ว่ำประวัติอำชญำกรรมทุกกรณีมีควำมเกี่ยวข้องกับกำรจ้ำงแรงงำน เนื่องจำกต้องพิจำรณำลักษณะควำมผิดของประวัติ
อำชญำกรรมอันหนึ่งและควำมสัมพันธ์กับงำนหนึ่งเป็นกรณีไป จะเห็นได้ว่ำกำรพิจำรณำเช่นนี้เป็นแนวทำงแก้ปัญหำ
การสร้างภาพเหมารวม (Stereotype) ว่าประวัติอาชญากรรมทุกกรณีเป็นคุณสมบัติที่ไม่เหมาะสมกับงานทุกประเภท
อย่ำงไรก็ตำม หลักกำรดังกล่ำวยังไม่ปรำกฏอย่ำงชัดเจนตำมกฎหมำยไทย ท�ำให้ยังมีปัญหำอันสรุปได้สองประกำรหลัก
ดังนี้
ประการแรก กำรก�ำหนด “ประวัติอำชญำกรรม” ในฐำนะเป็นคุณสมบัติที่จ�ำเป็นส�ำหรับงำน
ทั้งในภำครัฐและเอกชน โดยไม่ค�ำนึงถึงรำยละเอียดว่ำกำรกระท�ำผิดตำมประวัติดังกล่ำวเกี่ยวข้องกับงำนที่สมัครนั้น
อย่ำงไร หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ มิได้วำงหลักพิจำรณำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประวัติอำชญำกรรมกับงำนเป็นกรณีไป ท�ำให้
เกิดกำรสร้ำงภำพเหมำรวมในลักษณะที่ว่ำ “ผู้มีประวัติอำชญำกรรมไม่เหมำะกับงำนในทุกต�ำแหน่ง” แม้ว่ำตำมข้อก�ำหนด
คุณสมบัติในงำนโดยทั่วไปแล้วจะจ�ำกัดเฉพำะ “โทษทำงอำญำที่มิใช่ประมำทหรือลหุโทษ” แต่ก็มิได้วำงหลักพิจำรณำ
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงโทษทำงอำญำนั้นกับงำนเฉพำะต�ำแหน่งซึ่งมีรำยละเอียดแตกต่ำงกันไป
ประการที่สอง ไม่มีกฎหมำยเฉพำะที่วำงหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติเพื่อคุ้มครองกรณีที่
ผู้ประกอบกำรภำคเอกชนน�ำประวัติอำชญำกรรมมำก�ำหนดคุณสมบัติหรือเป็นปัจจัยในกำรพิจำรณำเกี่ยวกับกำรจ้ำง
แรงงำน นอกจำกนี้ ผู้ประกอบกำรในภำคเอกชนอำจก�ำหนดขอบเขต “ประวัติอำชญำกรรม” ในควำมหมำยอย่ำงกว้ำง
เช่น กำรน�ำเอำประวัติกำรถูกตั้งข้อหำทำงอำญำซึ่งศำลไม่ได้ตัดสินว่ำมีควำมผิด มำประกอบกำรพิจำรณำรับเข้ำท�ำงำน
หรือก�ำหนดเงื่อนไขกำรท�ำงำนอื่น ๆ รวมทั้งผู้ประกอบกำรอำจพิจำรณำตัดสิน “อุปนิสัยหรือพฤติกรรม” ของผู้สมัครจำก
“กำรมีอยู่” ซึ่งประวัติอำชญำกรรมนั้น ดังเช่นกรณีตัวอย่ำงของออสเตรเลีย ซึ่งคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนออสเตรเลีย
เคยพิจำรณำไว้ว่ำเป็นกำรสรุปรวมที่กว้ำงและท�ำให้เกิดกำรสร้ำงภำพเหมำรวมประวัติอำชญำกรรมโดยไม่ค�ำนึงถึงควำม
เกี่ยวข้องกับลักษณะงำนนั้น
ด้วยเหตุนี้ เพื่อเป็นกำรคุ้มครองผู้ที่ได้รับกำรปฏิบัติแตกต่ำงกันด้วยเหตุ “ประวัติอำชญำกรรม”
โดยเฉพำะในมิติของกำรจ้ำงแรงงำน จึงน�ำไปสู่ข้อเสนอแนะกำรวิจัยในบทที่ ๕ ต่อไป
370