Page 372 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 372

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





               ๔.๑๑ บทวิเคราะห์ กรณีการให้นมบุตรจากอกแม่ (Breastfeeding)



                       ในส่วนนี้จะได้วิเครำะห์ถึงกรณีปัญหำกำรให้นมบุตรจำกอกแม่ในมิติของสิทธิมนุษยชนและกำรเลือกปฏิบัติ



                       ๔.๑๑.๑ ผลดีของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
                               องค์กำรอนำมัยโลก (World Health Organization) และ

               ยูนิเซฟ (UNICEF) แนะน�ำให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในช่วงหกเดือนแรก รวมทั้ง
               ให้นมแม่ประกอบกับอำหำรเสริมอื่น ๆ ต่อไปอีกสองปี นโยบำยกำร
               ส่งเสริมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ได้รับกำรสนับสนุนจำกมติของที่ประชุม

               World Health Assembly (Resolution WHA 55.25) รวมทั้ง
               คณะกรรมกำรบริหำรของยูนิเซฟ (The UNICEF Executive Board) 333

               ผลกำรศึกษำชี้ให้เห็นว่ำกำรเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มีควำมส�ำคัญต่อ
               พัฒนำกำรของทำรก ลดอัตรำกำรเสียชีวิตของทำรก ลดกำรติดเชื้อ
                                             334
               และอำกำรเจ็บป่วยต่ำง ๆ ของทำรก  นอกจำกนี้ กำรให้นมบุตร
               ยังส่งผลดีต่อสุขภำพของแม่อีกด้วย ผลกำรศึกษำชี้ให้เห็นว่ำ แม่
                                                      335
               ที่ไม่ได้ให้นมบุตรมีควำมเสี่ยงต่อโรคบำงอย่ำง  และกำรให้
               นมบุตรจำกอกแม่ยังส่งผลดีในเชิงจิตวิทยำต่อควำมสัมพันธ์

                              336
               ระหว่ำงแม่และลูก
                               กำรเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ยังส่งผลดีในเชิงเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ กล่ำวคือ เนื่องจำกกำรให้นมแม่
               ส่งผลดีต่อสุขภำพของแม่และเด็ก ดังนั้น ในแง่ระบบประกันสุขภำพที่รัฐจัดให้ประชำชนนั้น (Public health system)

                                                                                         337
               กำรให้นมบุตรจำกอกแม่มีส่วนลดภำระค่ำใช้จ่ำยของรัฐในกำรบ�ำบัดรักษำควำมเจ็บป่วยได้
                               ในสหรัฐอเมริกำมีควำมพยำยำมที่จะส่งเสริมให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยมีกำรจัดท�ำโครงกำร

               “Healthy people 2020” ซี่งมีเป้ำหมำยส�ำคัญประกำรหนึ่ง คือ เพิ่มอัตรำส่วนแม่ที่ให้นมบุตรให้ถึงร้อยละ ๘๐.๙ ใน
                           338
               ปี ค.ศ. ๒๐๒๐



                      333    From Global Strategy for Infant and Young Child Feeding (p 7-8) , World Health Organization/UNICEF,
               2003  World Health Organization/UNICEF Geneva
                      334    From “The Burden of Suboptimal Breastfeeding in the United States: A Pediatric Cost Analysis (p 1048-
               1052)” by Melissa Bartick and Arnold Reinhold, 2010,  Pediatrics 125, 5.
                      335    From “Duration of Lactation and Risk Factors for Maternal Cardiovascular Disease (p 974)” by Eleanor
               B Schwarz, et al, 2009, Obstet Gynecol, 113, 5
                      336    From “Effects of Breastfeeding on the Mother (p 143-154)” by Miriam H Labbok, 2001, Pediatric Clinics,

               48, 1
                      337    From “The Burden of Suboptimal Breastfeeding in the United States: A Pediatric Cost Analysis (p 1048-

               52)” by Melissa Bartick and Arnold Reinhold, 2010, Pediatrics 125, 5
                      338   Retrieved from http://www.healthypeople.gov/2020/topics-objectives/topic/maternal-infant-and-child-
               health/objectives?topicId=26


                                                               371
   367   368   369   370   371   372   373   374   375   376   377