Page 374 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 374

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





                       ๔.๑๑.๓ มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวข้องกับการให้นมบุตรจากอกแม่
                               จำกกำรศึกษำพบว่ำ มำตรกำรทำงกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรให้นมบุตรจำกอกแม่ อำจจ�ำแนกได้

               ๒ ทิศทำง ได้แก่


                                     ทิศทางแรก      ก�ำหนด ยกเว้น กำรให้นมจำกอกแม่ ไม่เป็นกำรลำมกอนำจำร หรือกำรกระท�ำ

                                                    ทำงเพศที่ไม่เหมำะสม เช่น กฎหมำยมลรัฐสหรัฐอเมริกำ
                                     ทิศทางที่สอง ก�ำหนดคุ้มครองแม่ผู้ให้นมบุตรจำกกำรเลือกปฏิบัติ และกำรปฏิบัติที่ไม่

                                                  เหมำะสมจำกบุคคลอื่น ทั้งนี้เนื่องจำก แม้ว่ำกฎหมำยจะคุ้มครองแม่ผู้ให้
                                                  นมบุตร โดยกำรยกเว้นให้กำรกระท�ำดังกล่ำวไม่ผิดกฎหมำยอื่น โดยเฉพำะ
                                                  กฎหมำยอนำจำรในที่สำธำรณะ แต่ก็ยังไม่อำจคุ้มครองแม่ผู้ให้นมบุตรในที่

                                                     สำธำรณะจำกกำรถูกเลือกปฏิบัติหรือกำรปฏิบัติที่ไม่เหมำะสมจำกคนอื่น จึง
                                                    ควรมีกฎหมำยห้ำมเลือกปฏิบัติเข้ำมำในส่วนนี้ด้วย



                               ๔.๑๑.๓.๑ กฎหมายออสเตรเลีย
                                         เครือรัฐออสเตรเลียก�ำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกำรห้ำมเลือกปฏิบัติในกรณีของกำรให้นม
               บุตรจำกอกแม่ (Breastfeeding) ไว้เป็นเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติเฉพำะ ดังจะเห็นได้จำกกฎหมำยทั้งสองระดับต่อไปนี้



                                         ๑) กฎหมายระดับสหพันธรัฐ

                                         พระรำชบัญญัติกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ (Sex Discrimination Act 1984) นั้น
               กำรให้นมบุตรจำกอกแม่ถือเป็นสิทธิที่ส�ำคัญประกำรหนึ่ง และเป็นเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติที่ได้รับกำรคุ้มครองตำม
               กฎหมำย เนื่องจำกกฎหมำยนี้ห้ำมกำรเลือกปฏิบัติทั้งทำงตรงและทำงอ้อมด้วยเหตุแห่งกำรให้นมบุตรจำกอกแม่ กำรเลือก

               ปฏิบัติทำงตรงเกิดขึ้นเมื่อมีบุคคลหนึ่งปฏิบัติต่ออีกคนหนึ่งในลักษณะที่ได้รับควำมพึงพอใจน้อยกว่ำ (Less favorably
               than another people) เช่น กำรที่ภัตตำคำรแห่งหนึ่งปฏิเสธไม่ให้บริกำรกับแม่ผู้ให้นมลูกจำกอก ส�ำหรับกำรเลือก

               ปฏิบัติทำงอ้อมในกรณีนี้จะเกิดขึ้นเมื่อเงื่อนไขที่เป็นกลำง หรือกำรปฏิบัติที่เหมือนกับส่งผลให้แม่ผู้ให้นมลูกจำกอกได้รับกำร
               ปฏิบัติที่เสียเปรียบหรือด้อยกว่ำบุคคลอื่น เช่น กฎระเบียบกำรท�ำงำนของสถำนที่ท�ำงำนซึ่งก�ำหนดให้ลูกจ้ำงทุกคนต้อง
               ท�ำงำนโดยไม่หยุดพักเป็นช่วงระหว่ำงวัน กฎระเบียบเช่นนี้แม้ว่ำใช้บังคับกับลูกจ้ำงทุกคน แต่ส่งผลให้ลูกจ้ำงที่ต้องให้นม

               บุตรได้รับกำรปฏิบัติที่เสียเปรียบเนื่องจำกไม่สำมำรถให้นมบุตรในช่วงพักได้
                                         กรรมกำรห้ำมเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ (Sex Discrimination Commissioner)
               กล่ำวเกี่ยวกับประเด็นกำรเลือกปฏิบัติต่อแม่ผู้ให้นมลูกไว้ ดังนี้

                                          Pru Goward (ด�ำรงต�ำแหน่ง 2001-2006) กล่ำวว่ำ สิทธิของแม่ที่จะให้นมบุตรจำก
               อกได้รับกำรคุ้มครองตำมกฎหมำยห้ำมเลือกปฏิบัติระดับสหพันธรัฐ ซึ่งห้ำมกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ สถำนภำพ
               กำรสมรส กำรตั้งครรภ์ กำรเลือกปฏิบัติต่อหญิงที่ให้นมบุตรจำกอกนั้นเป็นกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ เพรำะว่ำ

               กำรให้นมบุตรเป็นคุณลักษณะเฉพำะของสุภำพสตรี
                                          Susan Halliday (1998-2001) กล่ำวว่ำ กำรให้อำหำรแก่เด็กทำรกเป็นกำรกระท�ำตำม

               สำมัญส�ำนึก แม่ย่อมมีสิทธิในกำเลือกวิธีกำรให้นมบุตรของตน ตำมกฎหมำยออสเตรเลียนั้นกำรเลือกปฏิบัติต่อสตรีผู้ให้





                                                               373
   369   370   371   372   373   374   375   376   377   378   379