Page 364 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 364

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ




               ภำพเหมำรวม (Stereotype) ในทำงลบอันเกี่ยวกับกำรประเมินคุณสมบัติของผู้ร้องและส่งผลกระทบต่อหลักควำม
                                                             318
               เสมอภำคและไม่เลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน  คณะกรรมกำรฯ เห็นว่ำ หำกจ�ำแนกควำมแตกต่ำงระหว่ำง
               ตัวประวัติอำชญำกรรม และสถำนกำรณ์แวดล้อมที่ควำมผิดนั้นได้กระท�ำขึ้น จะท�ำให้ผู้ถูกร้องสำมำรถเลี่ยงจำกหลัก
               ห้ำมเลือกปฏิบัติ โดยอ้ำงว่ำกำรปฏิบัตินั้นท�ำขึ้นบนพื้นฐำนของสภำพกำรณ์แวดล้อมของกำรกระท�ำผิด มิใช่เพรำะประวัติ
               อำชญำกรรมนั้นเอง ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำกำรตีควำมตำมแนวทำงของออสเตรเลียนั้น แม้กำรที่ผู้รับสมัครงำนหรือนำยจ้ำง

               ตัดสินใจเกี่ยวกับกำรจ้ำงแรงงำนโดยพิจำรณำจำก “พฤติกรรม อุปนิสัย” แต่หำกพฤติกรรมหรืออุปนิสัยนั้น สืบเนื่องมำ
               จำก “ประวัติอำชญำกรรม” ก็ถือได้ว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุ “ประวัติอำชญำกรรม” ด้วย กำรตีควำมแนวทำงนี้
               จึงให้น�้ำหนักกับกำรคุ้มครองสิทธิของผู้ถูกเลือกปฏิบัติจำกกรณีประวัติอำชญำกรรม



                                   กฎหมายเฉพาะอื่นที่เกี่ยวข้องกับประวัติอาชญากรรม เช่น ระเบียบส�านักงานต�ารวจ

               แห่งชาติว่าด้วยประมวลระเบียบการต�ารวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๓๒ การพิมพ์ลายนิ้วมือ พ.ศ. ๒๕๕๔
                                   ซึ่งมีหลักกำรว่ำ พนักงำนสอบสวนต้องจัดให้มีกำรพิมพ์ลำยนิ้วมือ “ผู้ต้องหำคดีอำญำทุก
               ประเภท เว้นแต่คดีลหุโทษ..หรือควำมผิดตำมกฎหมำยว่ำด้วยจรำจรทำงบก รวมทั้งควำมผิดตำมกฎหมำยอื่น ๆ ซึ่งได้

               เปรียบเทียบปรับแล้ว” ดังนั้นจะเห็นได้ว่ำ โดยหลักแล้วเมื่อบุคคลตกเป็นผู้ต้องหำคดีอำญำ ก็จะต้องถูกเก็บลำยพิมพ์
               นิ้วมือเป็นประวัติอำชญำกรรม ซึ่งหน่วยงำนของรัฐ หรือหน่วยงำนเอกชนอำจขอให้มีกำรตรวจสอบประวัติลูกจ้ำงของตน
                 319
               ได้  อย่ำงไรก็ตำม ข้อมูลนี้อำจถูกคัดแยกออกจำกสำรบบได้ในบำงเหตุที่ระเบียบฉบับนี้ก�ำหนด เช่น “ศำลสั่งยกฟ้อง
                                                                                                             320
               ศำลมีค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้ยกฟ้อง ผู้เสียหำยถอนค�ำร้องทุกข์ ถอนฟ้อง หรือยอมควำมกันโดยถูกต้องตำมกฎหมำย”
               ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำกำรประกอบอำชีพในภำครัฐหรือภำคเอกชน ก็อำจมีกำรตรวจสอบประวัติอำชญำกรรมที่มีกำร

               บันทึกไว้นี้ โดยหลังจำกตรวจสอบแล้ว หำกพบว่ำมีประวัติอำชญำกรรม ก็มิได้มีกฎหมำยใดคุ้มครองผู้ที่ไม่ได้รับกำรจ้ำง
               หรือถูกเลิกจ้ำงด้วยเหตุมีประวัติอำชญำกรรมดังกล่ำว แม้ว่ำประวัติอำชญำกรรมนั้นจะไม่เกี่ยวข้องกับงำนที่สมัครหรือ
               ที่ท�ำอยู่ก็ตำม ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำไทยยังขำดกฎหมำยในขั้นตอนของกำรน�ำข้อมูลประวัติอำชญำกรรมมำใช้ในกำรตัดสิน

               ใจที่เกี่ยวกับกำรจ้ำงงำน ซึ่งเป็นคนละขั้นตอนกับระเบียบของส�ำนักงำนต�ำรวจแห่งชำติดังกล่ำว
                              นอกจำกนี้ ยังมีกฎหมายเฉพาะอื่น เช่น พระราชบัญญัติล้างมลทินในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระ
               ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งเป็นกำรล้ำงโทษให้กับบุคคลที่ถูกลงโทษ

                  321
               จริง เช่น บุคคลที่ถูกจ�ำคุกตำมค�ำพิพำกษำของศำล ให้ถือว่ำไม่เคยได้รับโทษนั้น แต่มิได้เป็นกำรลบล้ำง “ควำมผิด”
               ไปด้วย แต่กฎหมำยฉบับนี้ไม่ได้วำงหลักคุ้มครองต่อไปถึงผลภำยหลังจำกกำรล้ำงมลทินในมิติของกำรจ้ำงแรงงำนทั้งภำค

               รัฐและเอกชน ดังนั้น กำรพิจำรณำรับหรือไม่รับบุคคลที่ได้รับกำรล้ำงมลทินเข้ำท�ำงำนยังคงต้องพิจำรณำกฎหมำยหรือ
               ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับองค์กรนั้น ซึ่งในขั้นตอนนี้ยังไม่มีกฎหมำยที่วำงหลักห้ำมเลือกปฏิบัติด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรม
               ดังกล่ำวมำแล้วข้ำงต้น



                      318    อ้ำงเหตุผลจำกค�ำพิพำกษำคดี Commonwealth v. Bradley per Black CJ (Bradley’s case)
                      319    ระเบียบส�ำนักงำนต�ำรวจแห่งชำติ ว่ำด้วยประมวลระเบียบกำรต�ำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๓๒ กำรพิมพ์ลำยนิ้วมือ

               พ.ศ. ๒๕๕๔ บทที่ ๓ ข้อ ๔
                      320    ระเบียบส�ำนักงำนต�ำรวจแห่งชำติ ว่ำด้วยประมวลระเบียบกำรต�ำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๓๒ กำรพิมพ์ลำยนิ้วมือ

               พ.ศ. ๒๕๕๔ บทที่ ๔ ข้อ ๑
                      321   มำตรำ ๔ ก�ำหนดว่ำ “ให้ล้ำงมลทินให้แก่บรรดำผู้ต้องโทษในกรณีควำมผิดต่ำง ๆ ซึ่งได้กระท�ำก่อนหรือในวันที่ ๕ ธันวำคม
               พ.ศ. ๒๕๕๐ และได้พ้นโทษไปแล้วก่อนหรือในวันที่พระรำชบัญญัตินี้ใช้บังคับ โดยให้ถือว่ำผู้นั้นมิได้เคยถูกลงโทษในกรณีควำมผิดนั้น ๆ”



                                                               363
   359   360   361   362   363   364   365   366   367   368   369