Page 373 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 373

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ





                         จะเห็นได้ว่ำกำรเลื้ยงลูกด้วยนมแม่ ส่งผลดีในหลำยด้ำน ทั้งในเชิงสุขภำพกำย สุขภำพจิต รวมทั้ง
          ผลดีในเชิงเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศอีกด้วย ดังนั้น รัฐบำลในหลำยประเทศจึงส่งเสริมให้มีกำรเลี้ยงลูกด้วยนมแม่



                 ๔.๑๑.๒ การให้นมบุตรจากอกแม่ (Breastfeeding)
                         กำรเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้รับกำรสนับสนุนอย่ำงกว้ำงขวำง อย่ำงไรก็ตำม พฤติกรรมหนึ่งซึ่งเกิดตำม
          มำจำกกำรเลี้ยงลูกด้วยนมแม่คือกำรเลี้ยงลูกโดยกำรให้นมจำกอกแม่ (Breastfeeding) กำรให้นมบุตรจำกอกของแม่

          นั้นอำจเกิดขึ้นได้ทั้งในสถำนที่ส่วนบุคคลและในที่สำธำรณะ ในปัจจุบันกำรให้นมบุตรจำกอกแม่ในที่สำธำรณะ เช่น
          ร้ำนอำหำร สถำนีรถโดยสำร ในรถโดยสำรสำธำรณะ เกิดขึ้นอย่ำงแพร่หลำย อย่ำงไรก็ตำม บุคคลจ�ำนวนหนึ่งอำจรู้สึก

          ไม่พอใจหรือมองว่ำพฤติกรรมกำรให้นมบุตรในที่สำธำรณะนั้นไม่เหมำะสม ท�ำให้แม่ผู้ให้นมบุตรจำกอกได้รับกำรปฏิบัติ
          อันเป็นที่พึงพอใจน้อยกว่ำในที่สำธำรณะ เช่น ถูกปฏิเสธกำรให้บริกำร หรือได้รับกำรปฏิบัติจำกบุคคลในสังคมด้วยวำจำ
          หรือพฤติกรรมที่มีลักษณะเหยียดหยำมหรือส่งผลต่อเนื่องเชื่อมโยงไปกับกำรใช้วำจำที่ก่อให้เกิดควำมเกลียดชัง (Hate

          Speech)
                         ในมุมมองสิทธิมนุษยชนนั้น ทั้งเด็กและแม่ของเด็กต่ำงมีสิทธิพื้นฐำนในส่วนที่เกี่ยวกับกำรให้นม

          กล่ำวคือ เด็กมีสิทธิที่จะได้รับกำรให้นม (Right to be breastfed) ในขณะที่มำรดำมีสิทธิที่จะให้นม (Right to breast-
              339
          feed)   กำรที่บุคคลหรือผู้ให้บริกำรต่ำง ๆ ในสังคมมีพฤติกรรมกำรปฏิบัติต่อมำรดำผู้ให้นมบุตรในที่สำธำรณะ จึงอำจ
          จัดเป็นกำรเลือกปฏิบัติชนิดหนึ่งซึ่งก�ำลังเป็นที่วิพำกษ์วิจำรณ์กันอย่ำงกว้ำงขวำง

                         มำรดำผู้ให้นมบุตรจำกอกอำจได้รับกำรปฏิบัติอันเป็นที่พึงพอใจน้อยกว่ำบุคคลอื่นในที่สำธำรณะ
          เช่น กำรใช้วำจำเหยียดหยำม ต่อว่ำ แม่ที่ให้นมบุตรจำกอกในที่สำธำรณะ ได้รับกำรปฏิบัติจำกบุคคลอื่นในลักษณะของ
          พฤติกรรมที่แสดงว่ำกำรให้นมบุตรนั้นไม่เหมำะสม กำรปฏิบัติหรือพฤติกรรมที่แม่ผู้ให้นมบุตรได้รับจำกสังคมอำจเกิดขึ้น

                                                                      340
          โดยตรงหรือโดยอ้อม เช่น พฤติกรรมท่ำทำง กำรแสดงออก ค�ำพูด เป็นต้น  ผู้ไม่เห็นด้วยดังกล่ำวอำจมีมุมมองในเชิง
          สังคมและวัฒนธรรม (Socio-cultural) ที่แตกต่ำงกันกับพฤติกรรมกำรให้นมบุตร ส�ำหรับกำรปฏิบัติต่อแม่ที่ให้นมบุตร
          อันเกี่ยวข้องกับกำรเลือกปฏิบัติ เช่น

                          กำรปฏิเสธไม่ให้แม่ผู้ให้นมบุตรจำกอกใช้บริกำรใดบริกำรหนึ่ง เช่น ห้ำมเข้ำสถำนที่บำงแห่ง
                          กำรจัดให้แม่ผู้ให้นมบุตรจำกอกต้องออกจำกบริเวณส�ำหรับบุคคลทั่วไป เพื่อไปให้นมบุตรจำกอก

          ในบริเวณพื้นที่ซึ่งจัดไว้ให้เฉพำะ ซึ่งในบำงกรณี สถำนที่เฉพำะเช่นนั้นอำจไม่มีสุขอนำมัยที่เหมำะสม เช่น ห้องซักล้ำง
          เพียงเพรำะผู้ดูแลสถำนที่นั้นต้องกำรให้แม่ผู้ให้นมบุตรจำกอกไปอยู่ที่ห่ำงไกลจำกผู้คนทั่วไป
                          ในมิติของกำรจ้ำงแรงงำน กำรให้นมบุตรจำกอกแม่ ส่งผลกระทบในกำรเลือกปฏิบัติต่อลูกจ้ำง

          หญิงที่ประสงค์จะให้นมบุตรระหว่ำงท�ำงำน เนื่องจำกโดยสภำพของกำรให้นมบุตรนั้นจะต้องใช้เวลำอย่ำงสม�่ำเสมอ
          ระหว่ำงวัน รวมทั้งจ�ำเป็นที่จะต้องมีกำรจัดพื้นที่เหมำะสมในสถำนที่ท�ำงำน จึงมีประเด็นว่ำหำกนำยจ้ำงมีนโยบำยหรือ

          กำรปฏิบัติที่ส่งผลเป็นกำรขัดขวำงกำรให้นมบุตรหรือมีกำรก�ำหนดนโยบำยจ�ำกัดสิทธิกำรให้นมบุตรจะเป็นกำรเลือก
          ปฏิบัติต่อลูกจ้ำงนั้นหรือไม่



                 339
                    From “Breastfeeding and Human Rights: Is There a Right to Breastfeed? Is There a Right to Be Breastfed?
          (p 357-361)” by Naomi B Bar-Yam, 2003, Journal of Human Lactation 19, 4
                 340
                     From The Guardian “In France, breast is definitely not best,” by Fiachra Gibbons (1 April 2011)
          Retrieved from www.guardian.co.uk/commentisfree/2011/apr/01/france-breast-breastfed-baby-death



                                                        372
   368   369   370   371   372   373   374   375   376   377   378