Page 365 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 365
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
วิเคราะห์การคุ้มครองสิทธิผู้ถูกเลือกปฏิบัติด้วยเหตุประวัติอาชญากรรมในกรอบของ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
กำรน�ำประวัติอำชญำกรรมมำก�ำหนดคุณสมบัติกำรท�ำงำนของบุคคลยังไม่มีกฎหมำยคุ้มครอง
โดยเฉพำะ เมื่อเกิดเหตุขึ้นจึงมีผู้ที่ได้รับผลกระทบยื่นค�ำร้องต่อคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ จำกกำรพิจำรณำ
ตรวจสอบของคณะกรรมกำรฯ ดังกล่ำวมำแล้วนั้น ผู้วิจัยเห็นว่ำ ในกรณีกำรสมัครงำนภำครัฐตำม รำยงำนผลกำรพิจำรณำ
ที่ ๔๓/๒๕๕๕ นั้นประเด็นหลักของกำรตรวจสอบคือ “การก�าหนดลักษณะต้องห้ามของผู้ที่จะเข้ารับราชการ ตาม
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภาฯ กระทบสิทธิผู้ร้องหรือไม่ อย่างไร” ซึ่งคณะกรรมกำรฯ แบ่งกลุ่มกฎหมำย
เป็น ๓ กลุ่ม และวำงแนวพิจำรณำว่ำกฎหมำยกลุ่มที่ไม่มีข้อยกเว้นเป็นกำรจ�ำกัดสิทธิหรือกระทบสิทธิผู้ร้อง จะเห็นได้ว่ำ
แนววินิจฉัยดังกล่ำวเป็นกำรมุ่งเน้นตรวจสอบกำรละเมิด “สิทธิในกำรประกอบอำชีพ” อันเป็นสิทธิมนุษยชนอีกประกำร
หนึ่ง ผู้วิจัยเห็นว่ำกรณีนี้ยังไม่ได้มีกำรมุ่งเน้นพิจำรณำในประเด็นที่ว่ำ “กฎหมายเหล่านั้นเลือกปฏิบัติต่อผู้สมัครงานด้วย
เหตุประวัติอาชญากรรมหรือไม่” ซึ่งหำกพิจำรณำในประเด็นนี้อำจมีปัญหำเนื่องจำกยังไม่มีกฎหมำยเฉพำะที่วำงหลัก
ห้ำมเลือกปฏิบัติด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรมในมิติกำรจ้ำงแรงงำน รวมทั้งควำมไม่ชัดเจนของ “ประวัติอำชญำกรรม”
ว่ำจัดอยู่ในเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนชองไทยเช่นเดียวกับ เชื้อชำติ ศำสนำ เพศ ฯลฯ หรือไม่
ส�ำหรับกรณีกำรสมัครงำนภำคเอกชน ตำมรำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๔๙๕/๒๕๕๘ นั้น คณะ
กรรมกำรฯ เห็นว่ำไม่เป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือเลือกปฏิบัติ โดยเหตุผลหลักก็คือ “บริษัทเอกชนมีหลักเกณฑ์และ
เงื่อนไขกำรพิจำรณำรับบุคคลเข้ำท�ำงำนแตกต่ำงกันไป” เหตุผลของกำรพิจำรณำเช่นนี้ ผู้วิจัยเห็นว่ำเนื่องจำกในภำค
เอกชนไม่มีกฎหมำยก�ำหนดคุณสมบัติผู้สมัครดังเช่นภำครัฐ และไม่มีกฎหมำยควบคุมกำรที่ผู้ประกอบกำรภำคเอกชน
จะก�ำหนดคุณสมบัติผู้สมัครงำน จึงเป็นไปตำมเจตนำของผู้ประกอบกำรแต่ละรำย
จำกกรณีทั้งสองดังกล่ำวนั้น หำกเปรียบเทียบกับกฎหมำยต่ำงประเทศจะพบว่ำ หลักกำรห้ำม
เลือกปฏิบัติด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรมในมิติกำรจ้ำงแรงงำนได้รับกำรก�ำหนดคุ้มครองไว้โดยเฉพำะในกฎหมำยสิทธิ
มนุษยชน โดยกฎหมำยบำงประเทศ เช่น ออสเตรเลียนั้นวำงหลักครอบคลุมทั้งภำครัฐและเอกชน ส�ำหรับ“คณะกรรมกำร
สิทธิมนุษยชน” ของออสเตรเลียและแคนำดำนั้นมีอ�ำนำจโดยตรงในกำรบังคับใช้กฎหมำยกับกรณีกำรเลือกปฏิบัติในมิติ
กำรจ้ำงงำน อย่ำงไรก็ตำม ผู้วิจัยเห็นว่ำไทยยังไม่มีกฎหมำยที่วำงหลักเรื่องนี้ไว้โดยเฉพำะ จึงท�ำให้กำรคุ้มครองผู้ถูกเลือก
ปฏิบัติด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรมตำมกรอบกฎหมำยสิทธิมนุษยชนของไทยยังไม่ครอบคลุมเพียงพอ แม้ว่ำอำจมีกำร
คุ้มครองสิทธิของผู้สมัครงำนจำกกำรถูกน�ำประวัติอำชญำกรรมมำเป็นเงื่อนไขในกำรจ้ำงงำนโดยอำศัยหลักกฎหมำยสิทธิ
มนุษยชนอื่น เช่น “กำรจ�ำกัดสิทธิในกำรประกอบอำชีพ” ดังที่คณะกรรมกำรฯ ได้วำงแนววินิจฉัยไว้ แต่ก็ยังไม่ปรำกฏถึง
กำรคุ้มครองสิทธิในกรอบของกฎหมำยห้ำมเลือกปฎิบัติด้วยเหตุ “ประวัติอำชญำกรรม” โดยตรงแต่อย่ำงใด เนื่องจำก
ยังมีปัญหำควำมครอบคลุมของกฎหมำยดังกล่ำวมำแล้ว
หลักการพิจารณา “คุณสมบัติอันจ�าเป็นที่เกี่ยวข้องกับงานนั้น” ในฐานะข้อยกเว้นของการ
ห้ามเลือกปฏิบัติด้วยเหตุประวัติอาชญากรรม
แม้ว่ำกฎหมำยสิทธิมนุษยชนของต่ำงประเทศ เช่น กฎหมำยสิทธิพลเมืองของสหรัฐอเมริกำ
กฎหมำยสิทธิมนุษยชนของออสเตรเลียและแคนำดำ ต่ำงวำงหลักห้ำมกำรน�ำประวัติอำชญำกรรมมำใช้ในกำรตัดสินใจ
ที่เกี่ยวข้องกับกำรจ้ำงแรงงำนนั้น โดยจัดเป็นกำรเลือกปฏิบัติ (Discrimination) ประกำรหนึ่ง อย่ำงไรก็ตำม กฎหมำย
ก็ได้พยำยำมสร้ำงควำมสมดุลระหว่ำงกำรคุ้มครองสิทธิของผู้มีประวัติอำชญำกรรมกับกำรตัดสินใจของนำยจ้ำงและ
364