Page 370 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 370
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
“เป็นกำรก�ำหนดคุณสมบัติของงำนที่ไม่เหมำะสมและไม่ได้สัดส่วน จึงไม่เข้ำข้อยกเว้น เนื่องจำกไม่ใช่คุณสมบัติอันจ�ำเป็น
330
ที่เกี่ยวกับงำนที่สมัคร” เช่นเดียวกับกรณีที่ ผู้ร้องเคยมีประวัติอำชญำกรรมข้อหำขับรถขณะมึนเมำ ได้มำสมัครงำนใน
ต�ำแหน่งนักวิเครำะห์ตลำด (Market Analyst) แต่ไม่ได้รับกำรคัดเลือก บริษัทยอมรับว่ำเหตุที่ไม่รับผู้ร้องเข้ำท�ำงำนนั้น
สืบเนื่องจำกประวัติอำชญำกรรม แต่อ้ำงนโยบำยของกิจกำรเกี่ยวกับยำเสพติดและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งก�ำหนดไว้
เพื่อมุ่งเน้นควำมปลอดภัยในกำรท�ำงำน คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนออสเตรเลียเห็นว่ำ ประวัติควำมผิดอำญำของเขำ
ไม่มีควำมสัมพันธ์ใด ๆ กับกำรจ้ำงงำนต�ำแหน่งดังกล่ำว อีกทั้งมิได้เกิดขึ้นในระหว่ำงเวลำท�ำงำน รวมทั้งกำรขับรถไม่
331
เกี่ยวข้องกับต�ำแหน่งงำนที่เขำสมัคร
หำกเปรียบเทียบกับกฎหมำยเกี่ยวกับกำรรับรำชกำร บำงหน่วยงำนเปิดโอกำสข้อยกเว้นที่ค�ำนึง
ถึงปัจจัยด้ำนควำมแตกต่ำงของโทษอำญำ ซึ่งแม้มีเจตนำทำงอำญำแต่ก็ไม่ได้มีลักษณะที่กระทบต่อลักษณะกำรท�ำงำน
เช่น ตำมพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยผู้ตรวจกำรแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ มำตรำ ๘ ก�ำหนดว่ำ “ไม่เคยต้อง
ค�ำพิพำกษำให้จ�ำคุก แม้คดีนั้นจะยังไม่ถึงที่สุดหรือมีกำรรอกำรลงโทษ เว้นแต่เป็นกรณีที่คดียังไม่ถึงที่สุดหรือมีกำรรอ
กำรลงโทษในควำมผิดอันได้กระท�ำโดยประมำท ควำมผิดลหุโทษ หรือควำมผิดฐำนหมิ่นประมำท” จะเห็นได้ว่ำมีกำร
เปิดโอกำสส�ำหรับผู้ได้รับโทษจ�ำคุกจำกควำมผิดฐำนหมิ่นประมำทซึ่งมีกำรรอกำรลงโทษ ถึงแม้ว่ำกฎหมำยนี้จะจัดอยู่ใน
กลุ่มกำรก�ำหนดคุณสมบัติเกี่ยวกับโทษจ�ำคุกให้เป็นคุณสมบัติต้องห้ำมโดยไม่มีข้อยกเว้นในกำรใช้ดุลพินิจ แต่สะท้อนถึง
กำรน�ำควำมแตกต่ำงของควำมผิดบำงลักษณะที่ไม่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติอันจ�ำเป็นตำมลักษณะงำน นอกจำกนี้ ยังอำจ
เทียบเคียงกับกรณีคุณสมบัติของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทำงกำรเมือง โดยรัฐธรรมนูญก�ำหนดคุณสมบัติต�ำแหน่งทำงกำรเมือง
332
ส�ำหรับบำงต�ำแหน่ง เช่น รัฐมนตรี ซึ่งเปิดโอกำสให้ผู้ได้รับโทษจ�ำคุกที่ผ่ำนไประยะเวลำหนึ่งสำมำรถด�ำรงต�ำแหน่งได้
นอกจำกนี้ หำกเปรียบเทียบกับกฎหมำยที่ก�ำหนดคุณสมบัติของอำชีพเฉพำะบำงอำชีพ เช่น
กำรก�ำหนดคุณสมบัติของ“พนักงำนรักษำควำมปลอดภัยรับอนุญำต” ตำมพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย
พ.ศ. ๒๕๕๘ นั้นพบว่ำ มำตรำ ๓๔ ก�ำหนดคุณสมบัติต้องห้ำมอันเกี่ยวกับ “ประวัติอำชญำกรรม” ไว้ว่ำ “เป็นผู้เคยได้รับ
โทษจ�าคุกโดยค�าพิพากษาถึงที่สุดให้จ�าคุกส�าหรับความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ หรือความ
ผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการพนัน หรือความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับ
ยาเสพติด เว้นแต่เป็นโทษส�าหรับความผิดที่ได้กระท�าโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ หรือพ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า
สามปีก่อนวันขอรับใบอนุญาตและมิใช่ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา” จะเห็นได้ว่ำ กฎหมำยฉบับนี้
แม้มีกำรน�ำคุณสมบัติเกี่ยวกับ “ประวัติอำชญำกรรม” มำใช้ในบริบทกำรประกอบวิชำชีพพนักงำนรักษำควำมปลอดภัย
แต่ก็อยู่ภำยใต้เงื่อนไข คุณสมบัติอันเป็นสาระส�าคัญของงาน” (Inherent Requirement Exception) กล่ำวคือ
ประวัติอำชญำกรรมที่ต้องห้ำมนั้นมีขอบเขตเฉพำะควำมผิดบำงประกำรที่ระบุไว้ อันเป็นควำมผิดที่อำจเกี่ยวข้องกับ
330 From Report of an Inquiry into a complaint by Ms Tracy Gordon of discrimination in employment on
the basis of criminal record, HREOC Report No. 33, 2006
331 From Australian Human Rights Commission : Mr CG v. State of New South Wales (Rail Corporation New
South Wales): report into discrimination in employment on the basis of criminal record, 2012
332 รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ มำตรำ ๑๗๔ (๕) ก�ำหนดคุณสมบัติผู้ด�ำรงต�ำแหน่งรัฐมนตรี
ว่ำ “….ไม่เคยต้องค�ำพิพำกษำให้จ�ำคุก โดยได้พ้นโทษมำไม่ถึง ๕ ปี ก่อนได้รับต�ำแหน่ง เว้นแต่ในควำมผิดอันได้กระท�ำโดยประมำท หรือ
ควำมผิดลหุโทษ”
369