Page 361 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 361

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ





          ก็มิได้ก�ำหนดเหตุนี้ไว้ กติกำระหว่ำงประเทศว่ำด้วยสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งแม้รับรองสิทธิในกำร
               312
          ท�ำงำน  แต่ก็มิได้ระบุ “ประวัติอำชญำกรรม” ไว้ในฐำนะเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติโดยเฉพำะ แต่เมื่อพิจำรณำกฎหมำย
          ต่ำงประเทศพบว่ำ “ประวัติอำชญำกรรม” เป็นเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติที่กฎหมำยหลำยประเทศบัญญัติรับรองไว้ใน

          กฎหมำยสิทธิมนุษยชน เช่น สหรัฐอเมริกำ แคนำดำ ออสเตรเลีย เป็นต้น ส�ำหรับออสเตรเลียนั้น กำรห้ำมเลือกปฏิบัติ
          ด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรม ได้รับกำรก�ำหนดไว้ในกฎหมำยระดับรัฐบำลกลำง โดยมีขอบเขตใช้กับนำยจ้ำงและลูกจ้ำง
          ทั้งภำครัฐและภำคเอกชน เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมำยไทยแล้วพบว่ำ ไม่มีกฎหมำยกลำงที่ก�ำหนดหลักกำรห้ำมเลือก

          ปฎิบัติที่ครอบคลุมทั้งภำครัฐและเอกชน ส�ำหรับกฎหมำยเฉพำะที่มีหลักกำรห้ำมเลือกปฎิบัติในมิติกำรจ้ำงแรงงำนมิได้
          ก�ำหนดเหตุประวัติอำชญำกรรมไว้เป็นเหตุแห่งกำรเลือกปฎิบัติโดยเฉพำะ ท�ำให้หน่วยงำนภำครัฐและเอกชนก�ำหนดเหตุ

          ประวัติอำชญำกรรมไว้ในเกณฑ์และเงื่อนไขกำรรับบุคคลเข้ำท�ำงำนแตกต่ำงกันไป
                             ส�ำหรับ “มิติของการเลือกปฏิบัติ” (Area of Discrimination) นั้น กฎหมำยต่ำงประเทศเกี่ยว
          กับกำรห้ำมเลือกปฎิบัติมีทั้งที่ครอบคลุมหลำยมิติและกฎหมำยที่เน้นเฉพำะมิติกำรจ้ำงแรงงำน กฎหมำยสิทธิมนุษยชน

          สหพันธรัฐของแคนำดำ ครอบคลุมกำรเลือกปฎิบัติในมิติอื่นนอกจำกกำรจ้ำงแรงงำนด้วย ส�ำหรับกำรห้ำมเลือกปฏิบัติด้วย
          เหตุประวัติอำชญำกรรมตำมกฎหมำยระดับรัฐบำลกลำงของออสเตรเลีย จ�ำกัดเฉพำะในมิติของกำรจ้ำงแรงงำนเท่ำนั้น

          แต่ขอบเขตของ “กำรจ้ำงแรงงำนและอำชีพ” (Employment and Occupation) มีควำมหมำยกว้ำง รวมถึง “กำร
          เข้ำถึงกำรฝึกงำน กำรท�ำงำน และกำรเข้ำสู่อำชีพใดอำชีพหนึ่ง และเงื่อนไขกำรจ้ำงงำน” ดังนั้น จึงมิได้จ�ำกัดเฉพำะกำร
          ปฏิบัติในขั้นตอนควำมสัมพันธ์ระหว่ำงนำยจ้ำงลูกจ้ำง เช่น เงื่อนไขกำรท�ำงำน กำรเลื่อนขั้น กำรเลิกจ้ำง ฯลฯ เท่ำนั้น

          แต่ยังครอบคลุมถึงกระบวนกำรที่เกี่ยวข้องก่อนกำรเข้ำสู่สัญญำจ้ำงแรงงำนด้วย เช่น กำรสรรหำ (Recruitment) กำร
          ประกำศรับสมัครงำน กำรคัดเลือก (Selection) เป็นต้น ในกรณีของกฎหมำยไทยนั้น ไม่มีกฎหมำยห้ำมเลือกปฎิบัติที่
          เป็นกฎหมำยกลำงอันครอบคลุมมิติต่ำง ๆ หลำยมิติ โดยมีกฎหมำยเฉพำะที่ครอบคลุมบำงมิติ เช่น กำรจ้ำงแรงงำนแต่

          ไม่ระบุเหตุประวัติอำชญำกรรมไว้เฉพำะดังกล่ำวมำแล้ว นอกจำกนี้ ยังมีปัญหำส�ำคัญ คือ กำรขำดกฎหมำยคุ้มครองใน
          ขั้นตอนก่อนสัญญำจ้ำงแรงงำน เช่น กำรประกำศรับสมัคร กำรคัดเลือก กำรสัมภำษณ์ เป็นต้น ส�ำหรับกำรขำดกฎหมำย
          กลำงที่ครอบคลุมมิติอื่นก็เป็นปัญหำที่ส�ำคัญ เช่น กรณีของประวัติอำชญำกรรมนั้นอำจมีกำรกำรเลือกปฏิบัติในมิติอื่น

          นอกจำกกำรจ้ำงแรงงำนได้ เช่น สถำบันกำรศึกษำที่ไม่รับบุคคลเข้ำศึกษำด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรม กำรให้บริกำร
          ภำคเอกชนที่ปฏิเสธไม่ให้บริกำรด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรม เป็นต้น



                             ขอบเขตความหมายของ “ประวัติอาชญากรรม”
                             ในบริบทของกฎหมำยสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับกำรห้ำมเลือกปฏิบัติด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรม

          นั้น ผู้วิจัยเห็นว่ำประเด็นเกี่ยวกับขอบเขตควำมหมำยของประวัติอำชญำกรรม อำจจ�ำแนกพิจำรณำออกเป็นประเด็น
          ย่อย ๒ ประเด็น ดังนี้

                             ประเด็นแรก: “ประวัติอาชญากรรม” หมายความเฉพาะการถูกศาลตัดสินว่ามีความผิด หรือ
          มีนัยที่กว้างกว่านั้น เช่น รวมถึงการมีประวัติเนื่องจากตกเป็นผู้ต้องหาในคดีอาญาด้วย เป็นต้น






                 312
                     ภำค ๓ ข้อ ๖ มีหลักว่ำ “รัฐภำคีรับรองสิทธิในกำรท�ำงำน ซึ่งรวมทั้งสิทธิของทุกคนในโอกำสที่จะหำเลี้ยงชีพโดยงำน
          ซึ่งตนเลือกหรือรับอย่ำงเสรี และจะต้องด�ำเนินขั้นตอนที่เหมำะสมในกำรปกป้องสิทธินี้”.




                                                         360
   356   357   358   359   360   361   362   363   364   365   366