Page 360 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 360

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





               ผู้ร้องเห็นว่ำนำยจ้ำงควรพิจำรณำจำกผลงำนกำรปฏิบัติงำนและควำมประพฤติของผู้ร้องเป็นหลัก ไม่ควรน�ำทะเบียน
               ประวัติอำชญำกรรมในอดีตมำประกอบกำรพิจำรณำ เท่ำกับไม่ให้โอกำสผู้ที่เคยท�ำผิดได้กลับเป็นคนดีและประกอบอำชีพ
               ที่มั่นคง ผู้ร้องมีควำมประสงค์ให้คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติตรวจสอบกำรกระท�ำอันไม่เป็นธรรมโดยกำรน�ำ

               ทะเบียนประวัติอำชญำกรรมมำประกอบกำรพิจำรณำบรรจุพนักงำน
                                       คณะอนุกรรมกำรด้ำนกฎหมำยและกำรปฏิบัติไม่เป็นธรรมพิจำรณำแล้ว มีประเด็นที่ต้อง
               วินิจฉัย คือ กำรที่บริษัทเอกชนน�ำข้อมูลประวัติอำชญำกรรมมำประกอบกำรพิจำรณำรับบุคคลเข้ำท�ำงำนเป็นกำรกระท�ำ

               หรือละเลยกำรกระท�ำอันเป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไม่ คณะอนุกรรมกำรพิจำรณำแล้วเห็นว่ำ ตำมค�ำร้องผู้ร้องถูก
               ปฏิเสธไม่รับเข้ำท�ำงำนเนื่องจำกเคยต้องโทษคดีอำญำที่ปรำกฏในทะเบียนอำชญำกรรม จำกกำรพิจำรณำตำมระเบียบ

               ส�ำนักงำนต�ำรวจแห่งชำติ ว่ำด้วยประมวลระเบียบกำรต�ำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๑๒ กำรพิมพ์ลำยนิ้วมือ (ฉบับ
               ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งเป็นระเบียบใหม่ กรณีของผู้ร้องก็ไม่เข้ำข่ำยที่จะได้รับกำรคัดแยกประวัติออกจำกสำรบบ และ
               เมื่อพิจำรณำมำตรำ ๔ แห่งพระรำชบัญญัติล้ำงมลทินในวโรกำสที่พระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดชมี

               พระชนมพรรษำ ๘๐ พรรษำ พ.ศ. ๒๕๕๐ แล้วนั้น กรณีผู้ร้องแม้เป็นผู้ที่ได้รับกำรล้ำงมลทินตำมพระรำชบัญญัติ
               ล้ำงมลทินฯ พ.ศ. ๒๕๕๐ ก็มีผลแต่เพียงว่ำผู้ร้องไม่เคยถูกลงโทษในข้อหำนั้น ๆ มำก่อนเท่ำนั้น

                                            เนื่องจำกบริษัทเอกชนมีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขกำรพิจำรณำรับบุคคลเข้ำท�ำงำน
               แตกต่ำงกันไป โดยคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติเสนอแนะเชิงนโยบำยไปยังหน่วยงำนภำครัฐและรัฐวิสำหกิจให้
               เปิดโอกำสให้บุคคลที่เคยรับโทษโดยค�ำพิพำกษำสำมำรถใช้สิทธิในกำรรับสมัครรับรำชกำรและสำมำรถกลับตัวเป็นคนดี

               ต่อไป ควำมเห็นของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติเห็นว่ำ กรณีตำมค�ำร้องเป็นหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของบริษัท
               เอกชนในกำรรับสมัครบุคคลเข้ำท�ำงำนที่แตกต่ำงกันโดยพิจำรณำเป็นรำยกรณี อย่ำงไรก็ตำม แม้แต่ในหน่วยงำนภำครัฐ
               และรัฐวิสำหกิจยังมีกำรพิจำรณำหลักเกณฑ์และเงื่อนไขกำรรับสมัครบุคคลเข้ำท�ำงำนแตกต่ำงกันไป โดยคณะกรรมกำร

               สิทธิมนุษยชนแห่งชำติเสนอแนะเชิงนโยบำยไปยังหน่วยงำนภำครัฐและรัฐวิสำหกิจให้เปิดโอกำสให้บุคคลที่เคยรับโทษ
               โดยค�ำพิพำกษำสำมำรถใช้สิทธิในกำรรับสมัครรับรำชกำรและสำมำรถกลับตัวเป็นคนดีเพื่อท�ำประโยชน์ให้กับสังคมและ
               ประเทศชำติ และเพื่อให้เกิดควำมเป็นธรรมและมำตรฐำนเดียวกันต่อไป นอกจำกนี้ คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ

               ยังมีกำรประชุมร่วมกับหน่วยงำนภำครัฐ เอกชน สมำคมต่ำง ๆ และภำคส่วนที่เกี่ยวข้องในกำรจัดน�ำร่องรับสมัครบุคคล
               ที่เคยต้องโทษคดีถึงที่สุดเข้ำท�ำงำน เพื่อเป็นหลักประกันให้ผู้ประกอบกำร ในกำรรับบุคคลเคยต้องโทษเข้ำท�ำงำน

               รวมทั้งกำรแก้ไขปัญหำอย่ำงเป็นรูปธรรม จำกกรณีบริษัทเอกชนไม่รับบรรจุบุคคลเข้ำท�ำงำนเพรำะเหตุมีทะเบียน
               ประวัติอำชญำกรรม ไม่พบว่ำเป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือเป็นกำรเลือกปฏิบัติแต่อย่ำงใด จึงมีมติให้ยุติเรื่อง


                     ๔.๑๐.๔ ข้อวิเคราะห์

                             ส่วนนี้จะได้วิเครำะห์ประเด็นทำงกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรเลือกปฎิบัติด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรม

               ในมิติของกำรจ้ำงแรงงำน โดยจ�ำแนกเป็นประเด็นต่ำง ๆ ดังนี้
                                   “ประวัติอาชญากรรม” ในฐานะ “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ” และ “มิติของการเลือกปฏิบัติ”

                                   ดังที่กล่ำวมำแล้วว่ำ กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกัน (Differential treatment) จะเป็นกำรเลือกปฏิบัติ
               (Discrimination) ตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนจะต้องมีควำมเกี่ยวพันกับ “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ” (Ground of

               Discrimination) ส�ำหรับกฎหมำยสิทธิมนุษยชนระหว่ำงประเทศนั้นโดยทั่วไปมิได้ก�ำหนด “ประวัติอำชญำกรรม”
               เป็นเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติโดยเฉพำะ ดังเช่น กติกำระหว่ำงประเทศว่ำด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทำงกำรเมือง ข้อ ๒๖





                                                               359
   355   356   357   358   359   360   361   362   363   364   365