Page 359 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 359

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ





                                 ส�ำหรับค�ำร้องที่คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติเคยพิจำรณำในประเด็นกำรน�ำประวัติ
          อำชญำกรรมำก�ำหนดคุณสมบัติเข้ำรับรำชกำร จะเห็นได้จำกรำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๔๓/๒๕๕๕ ข้อเท็จจริงสรุปได้ว่ำ
          ผู้ร้องเคยถูกด�ำเนินคดีเกี่ยวกับยำเสพติดและศำลพิพำกษำให้จ�ำคุก ๓ ปี ๖ เดือน ปัจจุบันผู้ร้องพ้นโทษมำเป็นเวลำกว่ำ

          ๕ ปี ประกอบอำชีพสุจริต ต้องกำรจะสอบเข้ำรับรำชกำร แต่ถูกจ�ำกัดสิทธิดังกล่ำว ผู้ร้องต้องกำรสอบเข้ำรับรำชกำร
          สังกัดรัฐสภำ แต่เมื่อโทรศัพท์ไปสอบถำมได้รับแจ้งว่ำ ผู้ร้องไม่มีสิทธิสอบและหำกสอบได้คะแนนเต็มก็ไม่มีทำงได้เข้ำ
          รับรำชกำร คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติมอบหมำยให้คณะอนุกรรมกำรตรวจสอบกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน

          ด้ำนกฎหมำยและกำรปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมพิจำรณำต่อไป ประเด็นกำรตรวจสอบ คือ กำรก�ำหนดลักษณะต้องห้ำมของ
          ผู้ที่จะเข้ำรับรำชกำรของรัฐสภำ ตำมมำตรำ ๓๗ แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรรัฐสภำ พ.ศ. ๒๕๕๔ กระทบ

          ต่อสิทธิของผู้ร้องหรือไม่ อย่ำงไร
                                 คณะอนุกรรมกำร ฯ พิจำรณำแล้วเห็นว่ำ แม้มำตรำ ๓๗ ข (๗) จะก�ำหนดคุณสมบัติว่ำต้อง
          ไม่เป็นผู้เคยได้รับโทษจ�ำคุกโดยค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้จ�ำคุก เว้นแต่เป็นโทษส�ำหรับควำมผิดที่กระท�ำโดยประมำทหรือ

          ควำมผิดลหุโทษ แต่มำตรำ ๓๗ วรรคสอง วรรคสำม และวรรคสี่ ได้บัญญัติข้อยกเว้นเพื่อเปิดโอกำสให้ผู้มีลักษณะต้อง
          ห้ำมตำมข้อ ข (๗) ได้รับกำรพิจำรณำยกเว้นคุณสมบัติดังกล่ำวได้ ฉะนั้นผู้ร้องยังอำจได้รับกำรพิจำรณำให้เข้ำรับรำชกำร

          ได้ หำกคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรรัฐสภำพิจำรณำยกเว้นโดยต้องได้คะแนนเสียงไม่น้อยกว่ำสี่ในห้ำของจ�ำนวนกรรมกำร
          ที่มำประชุม คณะอนุกรรมกำร ฯ จึงเห็นว่ำผู้ร้องยังไม่ถูกกระทบสิทธิในเรื่องกำรไม่สำมำรถเข้ำรับรำชกำรรัฐสภำ เพรำะ
          เคยต้องค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้จ�ำคุก ตำมมำตรำ ๓๗ แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรรัฐสภำ พ.ศ. ๒๕๕๔

                                 จะเห็นได้ว่ำ กรณีตำมค�ำร้องและรำยงำนผลกำรพิจำรณำดังกล่ำว แม้ว่ำเกี่ยวข้องกับ
          กฎหมำยไทยที่ก�ำหนดคุณสมบัติในกำรรับรำชกำรซึ่งผู้ร้องอ้ำงว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติและจ�ำกัดสิทธิในกำรประกอบ
          อำชีพ แต่มีประเด็นจ�ำกัดเฉพำะตำมพระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรรัฐสภำ พ.ศ. ๒๕๕๔ เท่ำนั้น ซึ่งจำกรำยงำนผล

          กำรพิจำรณำดังกล่ำวคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบำยต่อหน่วยงำนรำชกำรที่เกี่ยวข้อง
          ว่ำ “..โดยกลุ่มที่ก�ำหนดให้กำรต้องค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้จ�ำคุกเป็นคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ำมในกำรเข้ำรับรำชกำร
          โดยไม่มีกำรก�ำหนดข้อยกเว้นให้มีกำรใช้ดุลพินิจยกเว้นลักษณะต้องห้ำมได้ ควรมีกำรพิจำรณำทบทวนปรับปรุงและแก้ไข

          กฎหมำยให้สอดคล้องกับมิติด้ำนสิทธิเสรีภำพตำมรัฐธรรมนูญและพันธกรณีระหว่ำงประเทศรับรองไว้ โดยกำรก�ำหนด
          ข้อยกเว้นต้องมีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนและเป็นธรรม รวมทั้งควรมีกำรพิจำรณำถึงควำมเหมำะสมในกำรประกอบอำชีพด้วย

          ซึ่งในข้อยกเว้นนั้นอำจก�ำหนดกรอบระยะเวลำให้กับผู้ที่เคยได้รับโทษจ�ำคุก เพื่อเปิดโอกำสให้สำมำรถใช้สิทธิสมัครเข้ำ
          รับรำชกำรและกลับตนเป็นคนดีต่อไป…”



                         ๔.๑๐.๓.๒ กรณีประวัติอาชญากรรมกับการจ้างงานในภาคเอกชน
                                  ส�ำหรับกรณีนี้จะศึกษำวิเครำะห์ค�ำร้องต่อคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ กรณีกำร

          จ้ำงงำนในภำคเอกชน (ค�ำร้องที่ ๔๘๖/๒๕๕๖ รำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๔๙๕/๒๕๕๘)
                                 ข้อเท็จจริงสรุปได้ว่ำ ผู้ร้องมีประเด็นเรื่องกำรปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมอันเกี่ยวเนื่องกับสิทธิ
          และเสรีภำพในกำรประกอบอำชีพ กรณีนำยจ้ำงน�ำข้อมูลประวัติอำชญำกรรมมำประกอบกำรพิจำรณำรับบรรจุเข้ำ

          ท�ำงำนโดยไม่เป็นธรรม ผู้ร้องเคยถูกศำลพิพำกษำลงโทษจ�ำคุกในคดีลักทรัพย์ และรอลงอำญำไว้ ๒ ปี ต่อมำ ผู้ร้องได้
          สมัครเข้ำเป็นพนักงำนขำยรถยนต์บริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง ผู้ร้องได้ปฏิบัติงำนผ่ำนกำรทดลองงำน ๓ เดือนและถูกตรวจ
          ประวัติอำชญำกรรม ผลตรวจพบว่ำผู้ร้องมีประวัติถูกด�ำเนินคดีอำญำ บริษัทปฏิเสธกำรบรรจุผู้ร้องเข้ำเป็นพนักงำน






                                                         358
   354   355   356   357   358   359   360   361   362   363   364