Page 356 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 356

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





                                    พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘ นิยำมควำมหมำยของ “กำรเลือก
               ปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่ำงเพศ” ไว้ในมำตรำ ๓ ว่ำ หมำยถึง“กำรกระท�ำหรือไม่กระท�ำกำรใดอันเป็นกำรแบ่งแยก
               กีดกัน หรือจ�ำกัดสิทธิประโยชน์ใด ๆ ไม่ว่ำทำงตรงหรือทำงอ้อม โดยปรำศจำกควำมชอบธรรม เพรำะเหตุที่บุคคลนั้นเป็น

               เพศชำยหรือเพศหญิง หรือมีกำรแสดงออกที่แตกต่ำงจำกเพศโดยก�ำเนิด” ส�ำหรับหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัตินั้นปรำกฏใน
               มำตรำ ๑๗ ซึ่งวำงหลักว่ำ“กำรก�ำหนดนโยบำย กฎ ระเบียบ ประกำศ มำตรกำร โครงกำร หรือวิธีปฏิบัติของหน่วยงำนของ
               รัฐ ขององค์กรเอกชน ในลักษณะที่เป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่ำงเพศจะกระท�ำมิได้” กฎหมำยนี้อำจปรับ

               ใช้ในกรณีกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ ในมิติของกำรจ้ำงแรงงำนโดยเฉพำะในขั้นตอนก่อนกำรเป็น “ลูกจ้ำง” เช่น
               กำรประกำศรับสมัครงำน กำรคัดเลือกที่มีลักษณะกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ อย่ำงไรก็ตำม กฎหมำยนี้มีขอบเขต

               จ�ำกัดเฉพำะกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ ไม่ครอบคลุมกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุอื่น เช่น เหตุประวัติอำชญำกรรม
                                    พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ วำงหลักกฎหมำย
               ที่ส�ำคัญเกี่ยวกับกำรห้ำมเลือกปฏิบัติในมำตรำ ๑๕ ว่ำ “กำรก�ำหนดนโยบำย กฎ ระเบียบ มำตรกำร โครงกำร หรือวิธี

               ปฏิบัติของหน่วยงำนของรัฐ องค์กรเอกชน หรือบุคคลใดในลักษณะที่เป็นกำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อคนพิกำร
                           307
               จะกระท�ำมิได้  จะเห็นได้ว่ำ กฎหมำยนี้อำจปรับใช้ในกรณีกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งควำมพิกำร ในมิติของกำร
               จ้ำงแรงงำนและอำจรวมถึงขั้นตอนก่อนกำรเป็น “ลูกจ้ำง” เช่น กำรก�ำหนดนโยบำยกำรรับสมัครงำนของภำคเอกชนที่
               มีลักษณะกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งควำมพิกำร อย่ำงไรก็ตำม กฎหมำยนี้มีขอบเขตจ�ำกัดเฉพำะกำรเลือกปฏิบัติด้วย
               เหตุแห่งควำมพิกำร ไม่ครอบคลุมกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุอื่น เช่น เหตุประวัติอำชญำกรรม

                                   ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีกฎหมำยเฉพำะที่วำงหลักครอบคลุมกรณีกำรน�ำ
               เหตุเกี่ยวกับประวัติอำชญำกรรมมำปฏิบัติต่อบุคคลให้เกิดควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคลที่มีประวัติอำชญำกรรมกับบุคคล
               ที่ไม่มีประวัติอำชญำกรรมในมิติกำรจ้ำงแรงงำน



                                   กฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวกับประวัติอาชญากรรม
                                   นอกจำกกฎหมำยที่มีหลักกำรห้ำมเลือกปฎิบัติในมิติของกำรจ้ำงแรงงำนแล้ว ยังมีกฎหมำย

               เฉพำะที่เกี่ยวข้องกับประวัติอำชญำกรรม เช่น
                                    ระเบียบส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ว่าด้วยประมวลระเบียบการต�ารวจไม่เกี่ยวกับคดี

               ลักษณะที่ ๓๒ การพิมพ์ลายนิ้วมือ พ.ศ. ๒๕๕๔ มีหลักกำรว่ำ พนักงำนสอบสวนต้องจัดให้มีกำรพิมพ์ลำยนิ้วมือ
               “ผู้ต้องหำคดีอำญำทุกประเภท เว้นแต่คดีลหุโทษ..หรือควำมผิดตำมกฎหมำยว่ำด้วยจรำจรทำงบก รวมทั้งควำมผิด
               ตำมกฎหมำยอื่น ๆ ซึ่งได้เปรียบเทียบปรับแล้ว” ดังนั้น โดยหลักแล้วเมื่อบุคคลตกเป็นผู้ต้องหำคดีอำญำ ก็จะต้องถูกเก็บ

               ลำยพิมพ์นิ้วมือเป็นประวัติอำชญำกรรม ซึ่งหน่วยงำนของรัฐ หรือหน่วยงำนเอกชนอำจขอให้มีกำรตรวจสอบประวัติลูกจ้ำง







                      307   กฎหมำยฉบับนี้นิยำมควำมหมำยของ “คนพิกำร” ไว้ว่ำ “บุคคลซึ่งมีข้อจ�ำกัดในกำรปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวันหรือ
               เข้ำไปมีส่วนร่วมทำงสังคม เนื่องจำกมีควำมบกพร่องทำงกำรเห็น กำรได้ยิน กำรเคลื่อนไหว กำรสื่อสำร จิตใจ อำรมณ์ พฤติกรรม สติปัญญำ

               กำรเรียนรู้ หรือควำมบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้ำนต่ำง ๆ และมีควำมจ�ำเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับควำมช่วยเหลือ
               ด้ำนหนึ่งด้ำนใด  เพื่อให้สำมำรถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวันหรือเข้ำไปมีส่วนร่วมทำงสังคมได้อย่ำงบุคคลทั่วไป  ทั้งนี้  ตำมประเภท
               และหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ประกำศก�ำหนด”




                                                               355
   351   352   353   354   355   356   357   358   359   360   361