Page 358 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 358
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
๔.๑๐.๓.๑ กรณีประวัติอาชญากรรมกับการจ้างงานในภาครัฐ
กฎหมำยไทยที่น�ำ “ประวัติอำชญำกรรม” เข้ำมำระบุเป็นคุณสมบัติกำรเข้ำรับรำชกำรนั้น
มีหลำยฉบับ ซึ่งมีรำยละเอียดแตกต่ำงกันไป จำกรำยงำนผลกำรพิจำรณำ ที่ ๔๓/๒๕๕๕ คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชน
311
แห่งชำติได้จ�ำแนกกฎหมำย กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องเป็น ๓ กลุ่มคือ
กลุ่มแรก: กฎหมำยหรือระเบียบที่ก�ำหนดให้กำรต้องค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้จ�ำคุกเป็น
คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ำมในกำรเข้ำรับรำชกำร โดยไม่มีกำรก�ำหนดข้อยกเว้นให้มีกำรใช้ดุลพินิจยกเว้นลักษณะ
ต้องห้ำมได้ เช่น พระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือนในสถำบันอุดมศึกษำ พ.ศ. ๒๕๔๗ พระรำชบัญญัติระเบียบ
ข้ำรำชกำรกำรเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ ระเบียบกระทรวงกลำโหมว่ำด้วยกำรบรรจุ กำรโอน และกำรบรรจุกลับเข้ำรับรำชกำร
พ.ศ. ๒๕๒๙ เป็นต้น นอกจำกนี้ ตำมพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยผู้ตรวจกำรแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ และ
พระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยกำรตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ก็มีกำรก�ำหนดคุณสมบัติและลักษณะต้อง
ห้ำมในกำรต้องค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้จ�ำคุก โดยไม่มีกำรก�ำหนดข้อยกเว้น กฎหมำยกลุ่มนี้ก�ำหนดคุณสมบัติและลักษณะ
ต้องห้ำมกรณีที่เคยได้รับโทษโดยค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้จ�ำคุก เว้นแต่เป็นโทษส�ำหรับควำมผิดที่ได้กระท�ำโดยประมำท
หรือควำมผิดลหุโทษ แต่ไม่มีกำรระบุข้อยกเว้นให้มีกำรใช้ดุลพินิจยกเว้นลักษณะต้องห้ำมดังกล่ำว จึงท�ำให้ไม่มีลักษณะ
ของกำรยืดหยุ่นในกำรบังคับใช้กฎหมำยซึ่งเป็นกำรปิดโอกำสผู้เคยได้รับโทษจ�ำคุกดังกล่ำว
กลุ่มที่สอง: กฎหมำยหรือระเบียบที่ก�ำหนดให้กำรต้องค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้จ�ำคุกเป็น
คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ำมในกำรเข้ำรับรำชกำร แต่มีข้อยกเว้นให้หน่วยงำนสำมำรถก�ำหนดหลักเกณฑ์เฉพำะหรือใช้
ดุลพินิจในกำรรับสมัครบุคคลผู้มีลักษณะต้องห้ำมเข้ำรับรำชกำรได้ เช่น พระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรรัฐสภำ พ.ศ.
๒๕๕๔ พระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ พระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรกรุงเทพมหำนครและ
บุคลำกรกรุงเทพมหำนคร พ.ศ. ๒๕๕๔ พระรำชบัญญัติต�ำรวจแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๕๗ พระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำร
ฝ่ำยอัยกำร พ.ศ. ๒๕๕๓ พระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรฝ่ำยตุลำกำร พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นต้น กฎหมำยกลุ่มนี้จะมีกำร
ระบุข้อยกเว้นเกี่ยวกับกรณีของผู้เคยได้รับโทษจ�ำคุกโดยค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้จ�ำคุก เว้นแต่เป็นโทษส�ำหรับควำมผิดที่
ได้กระท�ำโดยประมำทหรือควำมผิดลหุโทษ ซึ่งมีกำรพิจำรณำยกเว้นให้เป็นกำรเฉพำะรำยหรือมีกำรประกำศยกเว้นให้
เป็นกำรทั่วไป โดยเป็นไปตำมระเบียบปฏิบัติและมติของคณะกรรมกำร จึงเป็นกำรเปิดโอกำสให้ผู้ที่เคยได้รับโทษจ�ำคุก
โดยค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้จ�ำคุกในกำรสมัครเข้ำรับรำชกำร
กลุ่มที่สาม: กลุ่มองค์กรตำมรัฐธรรมนูญ ตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย
พุทธศักรำช ๒๕๕๐ และ กลุ่มองค์กรที่มีกำรก�ำหนดระยะเวลำในกำรพ้นโทษเป็นคุณสมบัติที่สำมำรถเข้ำด�ำรงต�ำแหน่ง
ได้ เช่น กรรมกำรกำรเลือกตั้ง กรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมทุจริตแห่งชำติ กรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ สมำชิก
สภำผู้แทนรำษฎร สมำชิกวุฒิสภำ รัฐมนตรี เป็นต้น ซึ่งมีกำรก�ำหนดข้อห้ำมบุคคลมิให้สมัครหรือได้รับกำรเสนอชื่อ ใน
กรณีที่บุคคลนั้นเคยต้องค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้จ�ำคุกและได้พ้นโทษมำยังไม่ถึงห้ำปี เว้นแต่เป็นโทษส�ำหรับควำมผิดที่ได้
กระท�ำโดยประมำทหรือควำมผิดลหุโทษ ซึ่งกลุ่มนี้มีกำรก�ำหนดระยะเวลำพ้นโทษที่ชัดเจน จึงเป็นกำรเปิดโอกำสให้กับ
ผู้ที่เคยได้รับโทษจ�ำคุกโดยค�ำพิพำกษำถึงที่สุดในกำรเข้ำด�ำรงต�ำแหน่งดังกล่ำวได้
311 คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ, “สิทธิและเสรีภำพในกำรประกอบอำชีพกรณีผู้ที่เคยรับโทษจ�ำคุกถูกจ�ำกัดสิทธิ
ในกำรเข้ำรับรำชกำร,” สิทธิมนุษยชนด้ำนกฎหมำยและกำรปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม, ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ (๒๕๕๘):
๑๙-๒๓.
357