Page 357 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 357
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
308
ของตนได้ อย่ำงไรก็ตำม ข้อมูลนี้อำจถูกคัดแยกออกจำกสำรบบได้ในบำงเหตุที่ระเบียบฉบับนี้ก�ำหนด เช่น “ศำล
สั่งยกฟ้อง ศำลมีค�ำพิพำกษำถึงที่สุดให้ยกฟ้อง ผู้เสียหำยถอนค�ำร้องทุกข์ ถอนฟ้อง หรือยอมควำมกันโดยถูกต้องตำม
309
กฎหมำย” ด้วยเหตุนี้ กำรประกอบอำชีพในภำครัฐหรือภำคเอกชน ก็อำจมีกำรตรวจสอบประวัติอำชญำกรรมที่มี
กำรบันทึกไว้นี้ โดยหลังจำกตรวจสอบแล้ว หำกพบว่ำมีประวัติอำชญำกรรม ก็มิได้มีกฎหมำยใดคุ้มครองผู้ที่ไม่ได้รับ
กำรจ้ำงหรือถูกเลิกจ้ำงด้วยเหตุมีประวัติอำชญำกรรมดังกล่ำว แม้ว่ำประวัติอำชญำกรรมนั้นจะไม่เกี่ยวข้องกับงำนที่
สมัครหรือที่ท�ำอยู่ก็ตำม
พระราชบัญญัติล้างมลทินในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
310
มีพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา พ.ศ. ๒๕๕๐ กฎหมำยนี้เป็นกำรล้ำงโทษให้กับบุคคลที่ถูกลงโทษจริง เช่น บุคคลที่
ถูกจ�ำคุกตำมค�ำพิพำกษำของศำล ให้ถือว่ำไม่เคยได้รับโทษนั้น แต่มิได้เป็นกำรลบล้ำง “ควำมผิด” ไปด้วย นอกจำกนี้
กฎหมำยฉบับนี้มิได้ก�ำหนดให้ต้องลบประวัติอำชญำกรรมของบุคคลนั้นออกจำกระบบ หำกตรวจสอบประวัติอำชญำกรรม
จำกกองทะเบียนประวัติอำชญำกรรม จะยังคงปรำกฏว่ำบุคคลนั้นเคยกระท�ำผิดเพียงแต่มีหมำยเหตุว่ำได้รับกำรล้ำง
มลทินแล้ว ยิ่งกว่ำนั้น กฎหมำยฉบับนี้ไม่ได้วำงหลักคุ้มครองต่อไปถึงผลภำยหลังจำกกำรล้ำงมลทินในมิติของกำรจ้ำง
แรงงำนทั้งภำครัฐและเอกชน ดังนั้น กำรพิจำรณำรับหรือไม่รับบุคคลที่ได้รับกำรล้ำงมลทินเข้ำท�ำงำนยังคงต้องพิจำรณำ
กฎหมำยหรือระเบียบที่เกี่ยวข้องกับองค์กรนั้น ๆ ซึ่งในขั้นตอนนี้ยังไม่มีกฎหมำยที่วำงหลักห้ำมเลือกปฏิบัติด้วยเหตุ
ประวัติอำชญำกรรมดังกล่ำวมำแล้วข้ำงต้น
จะเห็นได้ว่ำ กฎหมำยเหล่ำนี้ก�ำหนดขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์เฉพำะ โดยไม่มีขอบเขตครอบคลุมถึง
มิติของกำรจ้ำงแรงงำนโดยเฉพำะในส่วนของกำรพิจำรณำรับหรือไม่รับบุคคลที่มีประวัติอำชญำกรรมเข้ำท�ำงำน อันเป็น
ผลสืบเนื่องจำกกำรได้รับโทษจ�ำคุก ดังนั้น จึงจ�ำต้องมีมำตรกำรทำงกฎหมำยอื่นมำรองรับหรือคุ้มครองบุคคลกลุ่มนี้
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง กฎหมำยเกี่ยวกับกำรห้ำมเลือกปฏิบัติในมิติของแรงงำนที่ครอบคลุมเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติต่ำง ๆ
รวมทั้ง “ประวัติอำชญำกรรม” ซึ่งในปัจจุบันไทยยังไม่มีกฎหมำยลักษณะนี้
๔.๑๐.๓ การเลือกปฏิบัติด้วยเหตุ “ประวัติอาชญากรรม” ในกรอบกฎหมายสิทธิมนุษยชนของไทย
ปัจจุบันกฎหมำยไทยไม่มีกฎหมำยสิทธิมนุษยชนที่วำงหลักห้ำมเลือกปฏิบัติในลักษณะของกฎหมำย
กลำงที่มีขอบเขตครอบคลุมมิติต่ำง ๆ และเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติต่ำง ๆ ดังเช่นกฎหมำยออสเตรเลีย อย่ำงไรก็ตำม
ประเด็นกำรน�ำข้อมูลประวัติอำชญำกรรมของบุคคลมำปฏิบัติต่อบุคคลนั้นในลักษณะเป็นที่พึงพอใจน้อยกว่ำบุคคลอื่น
ในมิติของกำรจ้ำงแรงงำนนั้นปรำกฏอยู่อย่ำงต่อเนื่อง โดยอำจจ�ำแนกเป็นกรณีกำรจ้ำงงำนในภำครัฐและภำคเอกชน
308 ระเบียบส�ำนักงำนต�ำรวจแห่งชำติ ว่ำด้วยประมวลระเบียบกำรต�ำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๓๒ กำรพิมพ์ลำยนิ้วมือ
พ.ศ. ๒๕๕๔ บทที่ ๓ ข้อ ๔
309 ระเบียบส�ำนักงำนต�ำรวจแห่งชำติ ว่ำด้วยประมวลระเบียบกำรต�ำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๓๒ กำรพิมพ์ลำยนิ้วมือ
พ.ศ. ๒๕๕๔ บทที่ ๔ ข้อ ๑
310 มำตรำ ๔ ก�ำหนดว่ำ “ให้ล้ำงมลทินให้แก่บรรดำผู้ต้องโทษในกรณีควำมผิดต่ำง ๆ ซึ่งได้กระท�ำก่อนหรือในวันที่ ๕ ธันวำคม
พ.ศ. ๒๕๕๐ และได้พ้นโทษไปแล้วก่อนหรือในวันที่พระรำชบัญญัตินี้ใช้บังคับ โดยให้ถือว่ำผู้นั้นมิได้เคยถูกลงโทษในกรณีควำมผิดนั้น ๆ”
356