Page 355 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 355
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
ถึงกำรที่นำยจ้ำงสำมำรถใช้ประวัติอำชญำกรรมโดยไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติ เช่น ในปี ๑๙๙๘ คณะกรรมกำรฯ ตีควำม
กฎหมำยสิทธิพลเมืองว่ำนำยจ้ำงต้องแสดงให้เห็นถึงควำมจ�ำเป็นทำงธุรกิจหำกจะมีกำรน�ำปัจจัยด้ำนประวัติอำชญำกรรม
302
303
มำพิจำรณำคุณสมบัติบุคคลในกำรเข้ำท�ำงำน ทั้งนี้ คณะกรรมกำร EEOC เผยแพร่แนวปฏิบัติ (Guidance) ก�ำหนด
ให้องค์กรธุรกิจจัดท�ำมำตรกำรแสดงว่ำจะไม่น�ำเอำประวัติอำชญำกรรมมำใช้ในลักษณะที่เป็นกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุ
แห่งเชื้อชำติหรือถิ่นก�ำเนิดของบุคคล นอกจำกนี้ ยังก�ำหนดให้นำยจ้ำงจัดท�ำประมวลแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
ซึ่งมีเนื้อหำว่ำจะไม่มีค�ำถำมในใบสมัครงำนเกี่ยวกับประวัติอำชญำกรรม
๔.๑๐.๒ กฎหมายไทยที่เกี่ยวข้องกับการเลือกปฏิบัติในมิติการจ้างแรงงาน
ส�ำหรับกฎหมำยไทยที่เกี่ยวข้องจะจ�ำแนกเป็น ๒ กลุ่ม ได้แก่ กฎหมำยเฉพำะที่เกี่ยวกับกำรห้ำมเลือก
ปฏิบัติในมิติกำรจ้ำงแรงงำน และกฎหมำยเฉพำะที่เกี่ยวข้องกับประวัติอำชญำกรรมของบุคคล
กฎหมายเฉพาะของไทยเกี่ยวกับการห้ามเลือกปฏิบัติในมิติของการจ้างแรงงาน
ส�ำหรับกฎหมำยไทยนั้นพบว่ำ มีกฎหมำยเฉพำะหลำยฉบับที่มีหลักกำรเกี่ยวข้องและอำจน�ำมำ
ปรับใช้กับกำรเลือกปฏิบัติในมิติกำรจ้ำงแรงงำน เช่น
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มีหลักกำรที่เกี่ยวข้องกับควำมเท่ำเทียม
304
กันและห้ำมกำรเลือกปฏิบัติหลำยมำตรำ เช่น มำตรำ ๑๑/๑ วำงหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติระหว่ำงลูกจ้ำงรับเหมำ
305
ค่ำแรงกับลูกจ้ำงตำมสัญญำจ้ำงโดยตรง ในกรณีสิทธิประโยชน์และสวัสดิกำร มำตรำ ๑๕ วำงหลักกำรห้ำมเลือก
306
ปฏิบัติระหว่ำงลูกจ้ำงชำยและหญิง มำตรำ ๘๙ ห้ำมเลือกปฏิบัติในกรณีที่เกี่ยวกับประกำศก�ำหนดอัตรำค่ำจ้ำงขั้นต�่ำ
อย่ำงไรก็ตำม แม้พระรำชบัญญัติคุ้มครองแรงงำนวำงหลักกำรห้ำมเลือกปฏิบัติในหลำยกรณี แต่ก็มีขอบเขตจ�ำกัดเฉพำะ
กำรเลือกปฏิบัติที่เกี่ยวกับควำมสัมพันธ์ระหว่ำงนำยจ้ำงและลูกจ้ำงตำมสัญญำจ้ำงแรงงำน เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมำย
ต่ำงประเทศจะเห็นได้ว่ำ กำรเลือกปฏิบัติในมิติของกำรจ้ำงแรงงำนมีขอบเขตกว้ำงกว่ำ โดยครอบคลุมกำรปฏิบัติใน
ขั้นตอนก่อนกำรเกิดสัญญำจ้ำงแรงงำนหรือก่อนกำรมีควำมสัมพันธ์ในฐำนะนำยจ้ำงและลูกจ้ำง เช่น กำรสรรหำ กำรคัด
เลือกบุคคลเข้ำท�ำงำน เป็นต้น ดังนั้น หลักกฎหมำยนี้จึงไม่ครอบคลุมกำรเลือกปฏิบัติโดยอำศัยเหตุประวัติอำชญำกรรม
ในขั้นตอนก่อนกำรมีสถำนะเป็นนำยจ้ำงและลูกจ้ำงตำมสัญญำจ้ำงแรงงำน เช่น กำรก�ำหนดให้ผู้สมัครงำนต้องกรอกใบ
สมัครออนไลน์โดยระบุประวัติอำชญำกรรม กำรก�ำหนดให้ผู้สมัครต้องไปท�ำกำรตรวจสอบประวัติอำชญำกรรมก่อนกำร
เข้ำสู่กระบวนกำรคัดเลือกต่อไป กำรน�ำเหตุประวัติอำชญำกรรมมำตัดสินใจไม่รับบุคคลเข้ำท�ำงำน เป็นต้น
302
From “Work Reform: The Other Side of Welfare Reform by Sharon Dietrich, Maurice Emsellem
Ruckelshaus”,1998 Stanley L. & Policy Review 9: 53, 56.
303
From “Consideration of Arrest and Conviction Records in Employment Decisions under Title VII of
the Civil Rights Act of 1964”. EEOC Enforcement Guidance U.S. Equal Employment Opportunity Commission
(25 April 2010)
304
“ให้ผู้ประกอบกิจกำรด�ำเนินกำรให้ลูกจ้ำงรับเหมำค่ำแรงที่ท�ำงำนในลักษณะเดียวกันกับลูกจ้ำงตำมสัญญำจ้ำงโดยตรง
ได้รับสิทธิประโยชน์และสวัสดิกำรที่เป็นธรรมโดยไม่เลือกปฏิบัติ”
305
“ให้นำยจ้ำงปฏิบัติต่อลูกจ้ำงชำยและหญิงโดยเท่ำเทียมกันในกำรจ้ำงงำน เว้นแต่ลักษณะหรือสภำพของงำนไม่อำจปฏิบัติ
เช่นนั้นได้”
306
มำตรำ ๘๙ ประกำศก�ำหนดอัตรำค่ำจ้ำงขั้นต�่ำหรืออัตรำค่ำจ้ำงตำมมำตรฐำนฝีมือตำมมำตรำ ๘๘ ให้ใช้บังคับแก่นำยจ้ำง
และลูกจ้ำงทุกคนโดยไม่เลือกปฏิบัติ
354