Page 354 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 354

กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ





                                ส�ำหรับประเด็นที่ว่ำ กำรปฏิบัติต่อบุคคลแตกต่ำงดังกล่ำวนั้น เข้ำข้อยกเว้นเนื่องจำกเป็น “คุณสมบัติ
               อันเป็นสำระส�ำคัญส�ำหรับงำนนั้น” (Inherent Requirement Exception) หรือไม่ ซึ่งเห็นว่ำต้องพิจำรณำไม่เพียง
               เฉพำะควำมสำมำรถทำงกำยภำพหรือทำงจิตใจของบุคคลเท่ำนั้น แต่ต้องพิจำรณำจำกปัจจัยแวดล้อมเกี่ยวกับต�ำแหน่ง

               นั้น ๆ ด้วย คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนเห็นว่ำ เงื่อนไขของกำรเป็นคุณสมบัติส�ำคัญอันจ�ำเป็นนั้นจะต้องได้สัดส่วนกับ
               วัตถุประสงค์และจ�ำเป็นเมื่อพิจำรณำสภำพและลักษณะของงำนนั้น กรณีนี้ทำงส�ำนักงำนต�ำรวจอ้ำงว่ำ บุคคลจะต้อง
               ได้ “มำตรฐำนสูงสุดของบูรณภำพ (Highest Standard of Integrity) และมีคุณลักษณะตลอดจนชื่อเสียงที่ดี” ซึ่งเป็น

               คุณสมบัติเช่นเดียวกับกำรเป็นพนักงำนต�ำรวจ แต่คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนเห็นว่ำ กำรก�ำหนดเงื่อนไขคุณสมบัติดัง
               กล่ำวมิได้เป็นคุณสมบัติที่ส�ำคัญอันจ�ำเป็นส�ำหรับต�ำแหน่งงำนกรณีนี้คือพนักงำนสื่อสำร ซึ่งมีลักษณะแตกต่ำงกันและไม่

               ควรอยู่ภำยใต้มำตรฐำนเดียวกับพนักงำนต�ำรวจ ดังนั้น เมื่อพิจำรณำลักษณะงำนของต�ำแหน่งกำรสื่อสำรเปรียบเทียบ
               กับลักษณะงำนของต�ำรวจแล้ว คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนเห็นว่ำ กำรก�ำหนดคุณสมบัติพนักงำนสื่อสำรในระดับเช่น
               เดียวกับพนักงำนต�ำรวจเป็นกำรก�ำหนดคุณสมบัติของงำนที่ไม่เหมำะสมและไม่ได้สัดส่วน ดังนั้น กำรก�ำหนดคุณสมบัติ

               เกี่ยวกับประวัติอำชญำกรรมส�ำหรับต�ำแหน่งกำรสื่อสำรกรณีนี้จึงไม่เข้ำข้อยกเว้น เนื่องจำกไม่ใช่คุณสมบัติอันจ�ำเป็น
               และเป็นสำระส�ำคัญของงำน



                                                                                                             301
                               ๔. Mr CG v. State of New South Wales (Rail Corporation New South Wales) :
               กรณีนี้ผู้ร้องเคยมีประวัติอำชญำกรรมข้อหำขับรถขณะมึนเมำ ได้มำสมัครงำนในต�ำแหน่งนักวิเครำะห์ตลำด (Market

               Analyst) เขำได้รับกำรแจ้งว่ำจำกบริษัทว่ำ ไม่ได้รับกำรเสนอต�ำแหน่งงำนดังกล่ำว ทั้งที่ผู้ร้องมีคุณสมบัติอื่น ๆ ที่ก�ำหนด
               ไว้ส�ำหรับงำนนั้น คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนออสเตรเลียตรวจสอบข้อเท็จจริง พบว่ำ บริษัทยอมรับว่ำเหตุที่ไม่รับ
               ผู้ร้องเข้ำท�ำงำนนั้นสืบเนื่องจำกประวัติอำชญำกรรม แต่โต้แย้งว่ำ ประวัติอำชญำกรรมท�ำให้ผู้สมัครรำยนี้ไม่สำมำรถ

               ปฎิบัติงำนได้อย่ำงสอดคล้องกับควำมจ�ำเป็นของงำน (Inherent Requirement of Job) โดยอ้ำงนโยบำยของกิจกำร
               เกี่ยวกับยำเสพติดและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งก�ำหนดไว้เพื่อมุ่งเน้นควำมปลอดภัยในกำรท�ำงำน และกำรปฎิบัติงำน
               อย่ำงสุจริต ขยัน ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ และใช้ทักษะอย่ำงเหมำะสม อย่ำงไรก็ตำม กรรมกำรสิทธิมนุษยชน เห็นว่ำ กำร

               ไม่รับเข้ำท�ำงำนดังกล่ำวไม่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติอันจ�ำเป็นส�ำหรับงำนนั้น เนื่องจำกเขำท�ำงำนมำแล้ว ๘ ปีในต�ำแหน่ง
               ต่ำง ๆ รวมทั้งเคยปฎิบัติงำนที่เกี่ยวข้องกับต�ำแหน่งดังกล่ำวมำแล้วระยะหนึ่ง ซึ่งไม่ปรำกฏว่ำกำรปฎิบัติงำนของเขำ

               ขัดแย้งกับคุณสมบัติของกำรท�ำงำนในต�ำแหน่งนักวิเครำะห์ตลำด ดังนั้น ประวัติควำมผิดอำญำของเขำไม่มีควำมสัมพันธ์
               ใด ๆ กับกำรจ้ำงงำนต�ำแหน่งดังกล่ำว อีกทั้งมิได้เกิดขึ้นในระหว่ำงเวลำท�ำงำน กำรขับรถไม่เกี่ยวข้องกับต�ำแหน่งงำนที่
               เขำสมัคร คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนอธิบำยว่ำ “แม้กำรปรำศจำกประวัติอำชญำกรรมจะเป็นคุณสมบัติจ�ำเป็นส�ำหรับ

               งำนบำงอย่ำง แต่ส�ำหรับต�ำแหน่งนักวิเครำะห์ตลำดกรณีนี้ ไม่มีควำมจ�ำเป็นในกำรก�ำหนดคุณสมบัติผู้สมัครว่ำต้อง
               ปรำศจำกประวัติอำชญกรรม” จำกผลของกรณีนี้ บริษัทยอมรับที่จะทบทวนนโยบำยกำรจ้ำงงำนใหม่

                               นอกจำกกฎหมำยออสเตรเลียแล้ว หำกพิจำรณำกฎหมำยระดับรัฐบำลกลำงของสหรัฐอเมริกำ จะพบ
               หลักกำรที่คล้ำยคลึงกัน กล่ำวคือ กฎหมำยสิทธิพลเมือง (Civil Right Act) ก�ำหนดห้ำมกำรเลือกปฏิบัติบุคคลด้วยเหตุ
               เกี่ยวกับประวัติอำชญำกรรม คณะกรรมกำรโอกำสที่เท่ำเทียมในกำรจ้ำงแรงงำน (EEOC) ก�ำหนดแนวปฏิบัติที่อธิบำย




                      301   Australian Human Rights Commission, Mr CG v. State of New South Wales (Rail Corporation New

               South Wales): report into discrimination in employment on the basis of criminal record / Australian Human Rights
               Commission, 2012


                                                               353
   349   350   351   352   353   354   355   356   357   358   359