Page 351 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 351
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
แม้นิยำมดังกล่ำวไม่ได้มีกำรระบุ “ประวัติอำชญำกรรม” ไว้ แต่กฎระเบียบของคณะกรรมกำร
สิทธิมนุษยชนออสเตรเลียที่ออกตำมควำมในกฎหมำยนี้ได้ก�ำหนดเพิ่มเติม “ประวัติอำชญำกรรม” (Criminal Record)
295
ให้เป็นเหตุแห่งกำรเลือกปฎิบัติอย่ำงหนึ่งตำมกฎหมำย โดยก�ำหนดว่ำกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกัน กำรกีดกันหรือกำรให้
สิทธิพิเศษ ด้วยเหตุแห่งประวัติอำชญำกรรม จะถือว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติตำมควำมหมำยของกฎหมำยคณะกรรมกำร
สิทธิมนุษยชน ในกรณีของประวัติอำชญำกรรมนั้น กฎหมำยนี้ครอบคลุมกำรเลือกปฏิบัติโดยอ้อมด้วย โดยกำรเลือก
ปฏิบัติโดยอ้อมนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีกำรก�ำหนดเงื่อนไข มำตรกำรหรือกำรปฏิบัติที่เป็นกลำง กล่ำวคือ ใช้กับบุคคลทุกคน
296
เหมือนกัน แต่ส่งผลกระทบให้บุคคลบำงคนเกิดควำมเสียเปรียบอย่ำงไม่ได้สัดส่วน ดังเช่นกรณีประวัติอำชญำกรรม
อย่ำงไรก็ตำม กฎหมำยมิได้ก�ำหนดนิยำมควำมหมำยของ “ประวัติอำชญำกรรม” (Criminal
Record) ไว้โดยเฉพำะ แต่มีกำรตีควำมอย่ำงกว้ำงไม่เฉพำะประวัติที่อยู่ในควำมควบคุมของเจ้ำหน้ำที่ต�ำรวจ แต่รวมถึง
สถำนกำรณ์แวดล้อมของกำรถูกตัดสินโทษด้วย (Circumstance of the Conviction) ดังนั้น จึงครอบคลุมกำรตั้งข้อหำ
กำรสืบสวน กำรถูกตัดสินว่ำมีควำมผิดและได้รับโทษ กำรถูกตัดสินว่ำมีควำมผิดแต่ได้รับกำรยกเว้นโทษ แม้แต่กรณีที่
บุคคลนั้นมิได้มีประวัติอำชญำกรรมจริง แต่ถูกนำยจ้ำงเลือกปฏิบัติเพรำะนำยจ้ำงเชื่อว่ำบุคคลนั้นมีประวัติอำชญำกรรม
(Imputed Criminal Record) ส�ำหรับระดับมลรัฐนั้น แต่ละมลรัฐยังอำจมีกฎหมำยก�ำหนดรำยละเอียดของประวัติ
อำชญำกรในควำมหมำยที่แตกต่ำงกันไป
กำรห้ำมเลือกปฏิบัติด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรมตำมกฎหมำยระดับรัฐบำลกลำงของ
ออสเตรเลียฉบับนี้มีขอบเขตใช้กับนำยจ้ำงและลูกจ้ำงในทุกมลรัฐ ทั้งภำครัฐและภำคเอกชน รวมทั้งนำยจ้ำงในองค์กร
ธุรกิจขนำดเล็ก ส�ำหรับลูกจ้ำงที่อยู่ในขอบเขตกำรคุ้มครองนั้น ครอบคลุมลูกจ้ำงประจ�ำ ลูกจ้ำงชั่วครำว รวมทั้งบุคคล
ที่ฝึกงำนด้วย อย่ำงไรก็ตำม มีข้อสังเกตว่ำกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรมนี้ จ�ำกัดเฉพำะในมิติของกำรจ้ำง
แรงงำนเท่ำนั้น นอกจำกนี้ กฎหมำยมิได้คุ้มครองบุคคลจำกกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรมที่จัดเก็บโดย
องค์กรอื่น เช่น สมำคม ส�ำหรับขอบเขตของกำรจ้ำงแรงงำนและอำชีพ (Employment and Occupation) มีควำม
หมำยกว้ำง รวมถึง “กำรเข้ำถึงกำรฝึกงำน กำรท�ำงำน และกำรเข้ำสู่อำชีพใดอำชีพหนึ่ง และเงื่อนไขกำรจ้ำงงำน”
ดังนั้น คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนมีอ�ำนำจพิจำรณำค�ำร้องเกี่ยวกับกำรเลือกปฏิบัติในกรณีประวัติอำชญำกรรม
ในมิติต่ำง ๆ เช่น กำรสรรหำ (Recruitment) กำรฝึกงำน กำรเลื่อนขั้นเลื่อนต�ำแหน่ง เงื่อนไขกำรท�ำงำน กำรเลิกจ้ำง
กำรลงทะเบียนใบอนุญำตต่ำง ๆ ที่เกี่ยวกับกำรท�ำงำนหรือกำรประกอบอำชีพ
กฎหมำยนี้ก�ำหนดข้อยกเว้นทั่วไปส�ำหรับกำรเลือกปฏิบัติในกำรจ้ำงแรงงำน เรียกว่ำ ข้อยกเว้น
เกี่ยวกับกำรก�ำหนด “คุณสมบัติอันเป็นสำระส�ำคัญส�ำหรับงำนนั้น” (Inherent Requirement Exception) ในกรณี
ของประวัติอำชญำกรรมนั้น หำกผู้สมัครหรือลูกจ้ำงมีประวัติอำชญำกรรมแล้วจะส่งผลให้ไม่สำมำรถปฏิบัติให้เป็นไป
ตำมเงื่อนไขอันเป็นสำระส�ำคัญและจ�ำเป็นของงำนนั้น ๆ ดังนี้นำยจ้ำงสำมำรถน�ำปัจจัยเกี่ยวกับประวัติอำชญำกรรม
มำปฏิบัติต่อลูกจ้ำงให้แตกต่ำงไปได้โดยไม่ถือว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติ ข้อยกเว้นนี้ปรำกฏในกฎหมำยระดับมลรัฐด้วย
โดยอำจใช้ค�ำแตกต่ำงกันไป เช่น กฎหมำยของ Tasmania และ Northern Territory ใช้ค�ำว่ำ “ประวัติอำชญำกรรมที่
ไม่เกี่ยวข้อง (Irrelevant Criminal Record)
295 The Australian Human Rights Commission Regulations 1989 4 (a) (iii)
296 International Labour Conference, Equality in Employment and Occupation: General Survey by the
Committee of Experts on the Application of Conventions and Recommendations ILO, Geneva, 1988
350