Page 349 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 349

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ






                                                            285
                  ค�ำร้องต่อคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชน Manitoba  กรณีผู้สมัครงำนต�ำแหน่งดูแลผู้สูงอำยุถูกบังคับให้
           ตรวจสอบประวัติอำชญำกรรม แม้ว่ำเหตุเกี่ยวกับประวัติอำชญำกรรมมิได้ระบุไว้ชัดเจนตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชน
           ของมลรัฐ Manitoba แต่คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนเห็นว่ำ มำตรำ ๙ (๑) ของกฎหมำยสิทธิมนุษยชน มีเจตนำรมณ์

           คุ้มครองบุคคลจำกกำรเลือกปฎิบัติด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรมด้วย เนื่องจำกบุคคลที่มีประวัติอำชญำกรรมได้รับ
           ผลกระทบ เช่น stigma stereotype และ disadvantage เช่นเดียวกับบุคคลที่จัดอยู่ในกลุ่มเหตุแห่งกำรเลือก

           ปฎิบัติอื่น ๆ อย่ำงไรก็ตำม คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนยอมรับว่ำ กำรตรวจสอบประวัติอำชญำกรรมจะเป็นกำร
           เลือกปฎิบัติเมื่อนำยจ้ำงไม่สำมำรถแสดงให้เห็นถึงเหตุผลจ�ำเป็นที่เกี่ยวกับงำนนั้น (Reasonable Justification)
           ส�ำหรับกรณีนี้คณะกรรมกำรฯ เห็นว่ำมีควำมเหมำะสมที่จะตรวจสอบประวัติอำชญำกรรมของลูกจ้ำงใหม่เพื่อลด

           ควำมเสี่ยงอันจะกระทบควำมปลอดภัยของผู้สูงอำยุ
                  คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชน Manitoba มีนโนบำย (Policy) แนะน�ำให้นำยจ้ำงหลีกเลี่ยงกำรใช้ประวัติ
                                                           286
           อำชญำกรรมในกำรเลือกปฎิบัติต่อบุคคล โดยมีหลักกำรว่ำ  ค�ำร้องเกี่ยวกับกำรเลือกปฎิบัติในกำรจ้ำงแรงงำนใน
           กรณีประวัติอำชญำกรรม อำจเข้ำข่ำยค�ำร้องตำมมำตรำ ๙ (๑) ของกฎหมำยสิทธิมนุษยชนได้ โดยจะต้องพิจำรณำ
           ว่ำ ประวัติอำชญำกรรม (กำรถูกตัดสินโทษ (Conviction) นั้นมีควำมสัมพันธ์โดยสุจริตกับอำชีพหรือกำรจ้ำงแรงงำน

           นั้นหรือไม่ (Bona Fide Relationship to the occupation or employment) ซึ่งมีปัจจัยพิจำรณำหลำยประกำร
           เช่น (๑) หำกอุปนิสัยซึ่งเกี่ยวข้องกับกำรถูกตัดสินโทษนั้นเกิดขึ้นซ�้ำอีก อำจส่งผลกระทบต่อควำมสำมำรถของนำยจ้ำง
           ในกำรประกอบกำรอย่ำงปลอดภัยและมีประสิทธิภำพ (Employer’s ability to carry on its business safely

           and efficiently) (๒) สถำนกำรณ์แวดล้อมของควำมผิดนั้น เช่น อำยุขณะกระท�ำผิด (๓) ระยะเวลำของกำรตัดสิน
           โทษกับกำรตัดสินใจที่เกี่ยวกับกำรจ้ำงแรงงำน
                 นอกจำกนี้ ยังจ�ำแนกควำมแตกต่ำงระหว่ำง “กำรถูกตั้งข้อหำ” (Criminal charge) กับ กำรถูกตัดสินโทษ

           (Conviction) โดยคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนยอมรับหลักว่ำบุคคลมีสิทธิพื้นฐำนที่จะได้รับกำรสันนิษฐำนว่ำบริสุทธิ์
           จนกว่ำจะถูกตัดสินโทษตำมกฎหมำย อย่ำงไรก็ตำม กำรน�ำเหตุเกี่ยวกับกำรตั้งข้อหำควำมผิดอำญำมำใช้ตัดสินใจ

           เกี่ยวกับกำรจ้ำงแรงงำนอำจท�ำได้เมื่อพิสูจน์ถึงควำมเสี่ยงต่อผู้ร่วมงำนหรือกำรประกอบกำรของนำยจ้ำง โดยควำม
           เสี่ยงนี้จะต้องมีควำมรุนแรง กล่ำวคือ นำยจ้ำงจะต้องมีระดับกำรพิสูจน์ควำมเสี่ยงที่สูงกว่ำกรณีกำรถูกตัดสินโทษ

















                 285   From Human Rights Adjudicator Rules on Criminal Record Complaint, December 2009, Manitoba Human

          Rights Commission. Retrieved from http://www.manitobahumanrights.ca/publications/news_releases/2009_12_17.
          html
                 286   From Manitoba Human Rights Commission, Board of Commissioner’s Policy: Criminal Record. Retrieved
          from http://www.manitobahumanrights.ca/publications/policy/policy_criminal-record.html





                                                         348
   344   345   346   347   348   349   350   351   352   353   354