Page 347 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 347
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
อันตรำยของอำชญำกรรมดังกล่ำว กับควำมเสี่ยงต่อกำรปฎิบัติหน้ำที่ในต�ำแหน่งงำนนั้น หลักกำรนี้อำจเรียกได้ว่ำเป็นกำร
พิจำรณำควำมเกี่ยวข้องกับงำนและสอดคล้องกับควำมจ�ำเป็นทำงธุรกิจ (Job related and consistent with business
necessity) นอกจำกนี้ ยังได้วำงแนวทำงเกี่ยวกับกำรคัดเลือกบุคคลโดยเฉพำะเจำะจง (Target screen) ซึ่งมีที่มำจำก
278
ค�ำพิพำกษำศำลในคดี Green v. Missouri Pacific Railroad โดยก�ำหนดองค์ประกอบหรือปัจจัยส�ำหรับกำร
พิจำรณำในกำรใช้ประวัติอำชญำกรรมให้ไม่เป็นกำรเลือกปฎิบัติ องค์ประกอบดังกล่ำว คือ ลักษณะของควำมผิดนั้น
เวลำที่ผ่ำนมำหลังจำกควำมผิดนั้นเกิดขึ้นหรือหลังจำกที่ได้รับโทษแล้ว และลักษณะสภำพของงำนนั้น ๆ ดังนั้น กำรที่
นำยจ้ำงจะใช้ประวัติอำชญำกรรมเป็นเหตุผลของกำรไม่รับบุคคลเข้ำท�ำงำนก็จะต้องแสดงให้เห็นถึงควำมจ�ำเป็นทำง
279
ธุรกิจ (Business necessity) นอกจำกนี้ EEOC ยังก�ำหนดแนวทำงกำรบังคับใช้กฎหมำย ซึ่งก�ำหนดให้กิจกำรต่ำง ๆ
จัดให้มีกระบวนกำรที่แสดงว่ำกิจกำรนั้นจะไม่ใช้ประวัติอำชญำกรรมเพื่อเลือกปฎิบัติต่อบุคคลด้วยเหตุแห่งเชื้อชำติ
สีผิว ถิ่นก�ำเนิด รวมทั้งก�ำหนดแนวปฎิบัติที่ดี (Best Practice) ให้นำยจ้ำงน�ำค�ำถำมเกี่ยวกับ “ประวัติอำชญำกรรม”
ออกจำกใบสมัครงำนด้วย ผู้วิจัยมีข้อสังเกตว่ำ เหตุแห่งประวัติอำชญำกรรมมิได้เป็นเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติด้วยตัวเอง
แต่ต้องมีควำมเกี่ยวพันกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติอื่นที่กฎหมำยนี้ระบุไว้
(๒) กฎหมายแคนาดา
กฎหมำยแคนำดำที่เกี่ยวข้องกับกำรเลือกปฎิบัติด้วยเหตุประวัติอำชญำกรรม สำมำรถจ�ำแนก
พิจำรณำในระดับรัฐบำลกลำงและระดับมลรัฐ ดังนี้
กฎหมายระดับรัฐบาลกลาง
กฎหมำยสิทธิมนุษยชนสหพันธรัฐ (Federal Human Rights Act) วำงหลักว่ำ “เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำม
กฎหมำยประกอบด้วย เชื้อชำติ สัญชำติ .....และกำรตัดสินโทษทำงอำญำ (Conviction for an offence) ซึ่ง
280
ได้รับกำรพิจำรณำให้ระงับประวัติอำชญำกรรม (suspension) จะเห็นได้ว่ำ กฎหมำยก�ำหนดเหตุประวัติ
อำชญำกรรมไว้ในฐำนะเป็น “เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ” (Prohibited ground of discrimination) ประกำร
หนึ่งโดยเฉพำะอย่ำงชัดเจน เช่นเดียวกับเหตุอื่น ๆ เช่น เพศ เชื้อชำติ ศำสนำ ฯลฯ
278 From “Green v. Missouri Pacific Railroad” 549 F.2d 1158 (8 Cir. 1975)
th
279 From “Work Reform: The Other Side of Welfare Reform (p 53, 56)” by Sharon Dietrich, Maurice
Emsellem, Catherine Ruckelshaus 1998, Stanley L. & Policy Review 9
280 Human Rights Act, RSC 1985 Section 3 (1): ผู้วิจัยมีข้อสังเกตว่ำ กฎหมำยสิทธิมนุษยชนใช้ค�ำว่ำ “pardon or
suspension” แต่ทั้งนี้ต้องพิจำรณำเชื่อมโยงกับกฎหมำยเฉพำะอีกฉบับหนึ่งคือ กฎหมำยประวัติอำชญำกรรม (The Criminal Records
Act) โดยกฎหมำยนี้วำงหลักว่ำผู้มีประวัติอำชญำกรรมที่ผ่ำนกำรพิจำรณำให้ระงับประวัติอำชญำกรรม (Criminal record suspension)
จะได้รับกำรน�ำประวัติแยกออกมำจำกกำรสืบค้นและจะไม่ถูกเปิดเผยต่อบุคคลใดเว้นแต่จะมีค�ำสั่งจำกรัฐมนตรี ดังนั้น “suspension”
ในกรณีนี้คือกำรระงับประวัติอำชญำกรรมมิใช่กำรระงับหรือกำรพัก “กำรลงโทษ” กฎหมำยลักษณะนี้เทียบได้กับกฎหมำยบำงมลรัฐใน
ออสเตรเลียที่ผู้มีประวัติได้รับโทษอำญำสำมำรถได้รับกำรพิจำรณำให้ประวัตินั้นไม่ปรำกฏในระบบหรือที่เรียกว่ำ “Spent conviction”
เช่น กฎหมำยมลรัฐ Western Australia (Spent Convictions Act 1988)
346