Page 345 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 345
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
๘. กลุ่มผู้ด้อยโอกำสทำงสังคม ได้แก่ ผู้ไม่มีสัญชำติไทย และไม่ได้รับกำรผ่อนผันภำยใต้มติคณะรัฐมนตรี
ว่ำด้วยกำรให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐำนด้ำนสำธำรณสุขแก่บุคคลที่มีปัญหำสถำนะและสิทธิแรงงำนนอกระบบ/แรงงำน
ข้ำมชำติที่ไม่สำมำรถพิสูจน์สัญชำติ (งำนภำคเกษตรกรรม ภำคประมง และงำนบ้ำน) และเด็กเร่ร่อนหรือผู้ไร้ที่พักพิง
ซึ่งมักรักษำตัวเอง เนื่องจำกช่องว่ำงทำงกฎหมำย อุปสรรคด้ำนภำษำ ไม่มีหรือเข้ำไม่ถึงเครื่องมือสื่อสำร อคติของผู้ใช้
บริกำรและบรรยำกำศไม่เป็นมิตรของสถำนพยำบำล เป็นต้น
๔.๑๐ การเลือกปฏิบัติด้วยเหตุ “ประวัติอาชญากรรม”
ประวัติอำชญำกรรม (Criminal Record) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลที่มีควำม
เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมต่ำง ๆ ซึ่งกระทบสิทธิของเจ้ำของข้อมูลนั้น เช่น กำรน�ำไปใช้
เผยแพร่ในทำงที่ท�ำให้บุคคลนั้นเสื่อมเสียชื่อเสียง กำรน�ำไปใช้ประกอบกำร
ตัดสินใจเรื่องต่ำง ๆ อันเกี่ยวข้องกับควำมสัมพันธ์ของบุคคลนั้นกับบุคคล
หรือองค์กรอื่นในสังคม ส�ำหรับในหัวข้อนี้จะมีขอบเขตศึกษำปัญหำของ
กำรน�ำข้อมูลดังกล่ำวมำเป็นปัจจัยในกำรตัดสินใจเกี่ยวกับผู้มีประวัติ
อำชญำกรรมในบริบทกำรท�ำงำน ซึ่งอำจประกอบด้วยพฤติกรรมย่อย
หลำยประกำรทั้งในช่วงก่อนกำรเกิดควำมสัมพันธ์ตำมสัญญำจ้ำง
แรงงำน เช่น กำรก�ำหนดให้ประวัติอำชญำกรรมเป็นคุณสมบัติต้อง
ห้ำมส�ำหรับผู้สมัครงำน กำรใช้ค�ำถำมเกี่ยวกับประวัติอำชญำกรรม
ในกระบวนกำรคัดเลือก เช่น กำรสัมภำษณ์หรือในใบสมัครงำน ส�ำหรับ
ช่วงหลังกำรเกิดควำมสัมพันธ์ตำมสัญญำจ้ำงแรงงำนแล้ว ก็มีกำรกำรน�ำ
เหตุประวัติอำชญำกรรมมำประกอบกำรพิจำรณำตัดสินใจในเงื่อนไขต่ำง ๆ
เช่น กำรเลื่อนขั้น เลื่อนต�ำแหน่ง กำรเลิกจ้ำง เป็นต้น เมื่อพิจำรณำในกรอบ
กฎหมำยสิทธิมนุษยชนจะเห็นได้ว่ำ บุคคลที่มีประวัติอำชญำกรรมได้รับกำรปฏิบัติ
ที่แตกต่ำงจำกบุคคลอื่นเพียงเพรำะเหตุที่ตนมีประวัติอำชญำกรรม จึงน�ำไปสู่ประเด็น
ค�ำถำมว่ำ บุคคลที่ได้รับกำรปฏิบัติแตกต่ำงจำกบุคคลอื่นด้วยเหตุนี้ จะได้รับกำรคุ้มครองตำมหลักกฎหมำยสิทธิ
มนุษยชนเกี่ยวกับกำรห้ำมเลือกปฏิบัติหรือไม่ อย่ำงไร โดยทั่วไปแล้วอำจพิจำรณำได้ว่ำ กำรปฎิบัติต่อบุคคลหนึ่ง
แตกต่ำงจำกอีกบุคคลอื่นที่มีคุณสมบัติเหมือนกัน เพียงเพรำะเหตุที่บุคคลนั้นมีประวัติอำชญำกรรม โดยหลักแล้วจึงเป็น
“กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกัน” ซึ่งหำกเข้ำเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติแล้ว ก็อำจจัดเป็นกำร “เลือกปฏิบัติ” ได้ อย่ำงไรก็ตำม
เนื่องจำก “ประวัติอำชญำกรรม” มีปัญหำว่ำจะจัดอยู่ใน “เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ” ตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนหรือไม่
ในส่วนนี้จะเริ่มจำกกำรศึกษำกฎหมำยและคดีที่เกิดขึ้นในต่ำงประเทศ ก่อนจะเปรียบเทียบกับประเทศไทยต่อไป
๔.๑๐.๑ การเลือกปฏิบัติด้วยเหตุ “ประวัติอาชญากรรม” ในต่างประเทศ
ในส่วนนี้จะศึกษำกฎหมำยสหรัฐอเมริกำ แคนำดำ และออสเตรเลีย ที่เกี่ยวข้องกับกำรเลือกปฎิบัติ
ด้วยเหตุ “ประวัติอำชญำกรรม” (Criminal Record) ในมิติของกำรจ้ำงแรงงำน
344