Page 341 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 341
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
ส�ำหรับกรณีนี้โดยทั่วไปแล้วยังไม่ถือเป็นกำรเลือกปฏิบัติ นอกจำกนี้ เมื่อพิจำรณำกฎหมำยที่เกี่ยวข้อง
แล้วพบว่ำ กฎหมำยไม่ได้ระบุว่ำเจ้ำหน้ำที่ต้องแจ้งให้ทรำบถึงสิทธิดังกล่ำวแต่อย่ำงไร
๒. กำรที่เจ้ำของบัตรประสงค์จะระบุศำสนำ หรือลัทธิบำงอย่ำงลงไปบนบัตร ซึ่งไม่ใช่ศำสนำกระแสหลัก
กรณีเหล่ำนี้เป็นดุลพินิจของเจ้ำหน้ำที่ ซึ่งอำจเห็นชอบด้วยหรือไม่เห็นด้วย
ในประเด็นนี้ จะเห็นได้ว่ำ หำกเจ้ำหน้ำที่ปฏิเสธไม่ให้ระบุศำสนำหรือลัทธิบำงอย่ำงในบัตรประชำชน
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง ศำสนำหรือลัทธิที่มิใช่กระแสหลัก อำจเข้ำข่ำยกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุศำสนำ ควำมเชื่อ เนื่องจำก
ปฏิบัติต่อบุคคลที่มีควำมเชื่อในศำสนำหรือลัทธินั้นอย่ำงแตกต่ำงกับศำสนำหรือลัทธิอื่น
จำกกำรศึกษำเปรียบเทียบกฎหมำยต่ำงประเทศ พบว่ำมีกรณีที่เกี่ยวกับกำรเรียกร้องสิทธิในกำรระบุ
ศำสนำหรือลัทธิควำมเชื่อบำงประกำรที่ไม่ใช่กระแสหลักลงไปในเอกสำรรำชกำร เช่น ใบขับขี่ โดยอำจระบุในรูป
ของกำรสวมใส่อุปกรณ์หรือเครื่องแต่งกำยตำมควำมเชื่อนั้นในกำรถ่ำยรูปติดบัตรดังกล่ำว เช่น กรณีของควำมเชื่อ
267
“พำสตำฟำเรียน” ซึ่งมีคดีที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกำ โดย Lindsay Miller ได้สวมเครื่องสวมศีรษะตำมควำมเชื่อนี้
ไปถ่ำยภำพท�ำใบขับขี่ แต่เจ้ำหน้ำที่ไม่อนุญำต (The Massachusetts Registry of Motor Vehicles) ต่อมำ สมำคม
ด้ำนสิทธิมนุษยชน (The American Humanist Association) อุทธรณ์ค�ำสั่งไม่อนุญำต โดยอ้ำงข้อยกเว้นทำงศำสนำ
อย่ำงไรก็ตำม ก่อนกำรอุทธรณ์ เจ้ำหน้ำที่ได้เปลี่ยนค�ำสั่งอนุญำตให้เธอสวมใส่อุปกรณ์ดังกล่ำวบนศีรษะถ่ำยภำพได้
ในแคนำดำ หญิงคนหนึ่งไปถ่ำยภำพท�ำใบขับขี่โดยสวมใส่อุปกรณ์บนศีรษะตำมควำมเชื่อเช่นเดียวกันนี้ แต่ถูกเจ้ำหน้ำที่
ปฏิเสธ (Société de l’assurance automobile du Québec) เธอจึงน�ำคดีขึ้นสู่ศำล อ้ำงว่ำกำรอนุญำตให้ใส่อุปกรณ์
สวมศีรษะถ่ำยภำพได้ตำมควำมเชื่อทำงศำสนำนั้นเป็นกำรเลือกปฏิบัติเพรำะจ�ำกัดเฉพำะศำสนำอิสลำม เธอโต้แย้งว่ำ
ข้อยกเว้นนี้ควรครอบคลุมกรณีศำสนำอื่น ๆ (อย่ำงเช่นพำสตำฟำเรียนด้วย ผู้พิพำกษำเห็นว่ำกำรยื่นค�ำร้องของเธอ
เป็นกำรท�ำให้ทรัพยำกรของรัฐในกำรด�ำเนินกระบวนยุติธรรมสูญเปล่ำ หรือว่ำเป็นกำรใช้ทรัพยำกรของรัฐโดยมิชอบ
(Abused) ที่ต้องให้ศำลมำพิจำรณำว่ำเธอควรสวมใส่อุปกรณ์นั้นถ่ำยภำพได้หรือไม่ ในปี ค.ศ. ๒๐๑๑ ชำวออสเตรีย
(Niko Alm) เป็นบุคคลแรกที่ชนะคดีในกำรเรียกร้องให้ภำครัฐยอมให้ตนถ่ำยภำพโดยกำรสวมใส่อุปกรณ์แสดงควำมเชื่อนี้
ในใบขับขี่ ต่อมำ ในช่วงต้นปี ค.ศ. ๒๐๑๖ ชำวรัสเซีย (Andrei Filin) ก็สำมำรถเรียกร้องให้ภำครัฐยอมรับให้ตนถ่ำยภำพ
268
ท�ำใบขับขี่โดยสวมใส่อุปกรณ์ดังกล่ำว
๔.๘.๒ การระบุข้อมูลบางประการในบัตรประจ�าตัวที่ภาครัฐออกให้กับการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุ
ศาสนา
นอกจำกประเด็นปัญหำกำรระบุศำสนำหรือระบุภำพถ่ำยแสดงถึงควำมเชื่อทำงศำสนำในบัตรที่
ภำครัฐออกให้แล้ว ยังมีประเด็นปัญหำที่เกี่ยวข้องกันก็คือกำรที่ภำครัฐก�ำหนดให้ระบุข้อมูลบำงอย่ำงในบัตรดังกล่ำว อำจ
267 Bobby Henderson เป็นผู้ก่อตั้งส�ำนักควำมคิดนี้ขึ้น สืบเนื่องมำจำกกำรที่เขำคัดค้ำนนโยบำยของคณะกรรมกำร
กำรศึกษำในรัฐ Kansas ที่ให้บรรจุทฤษฎีอันหนึ่งในบทเรียนแทนทฤษฎีอีกอันหนึ่ง เขำโต้แย้งโดยน�ำเสนอแนวคิด “Flying Spaghetti
Monster” ที่มีสมมุติฐำนว่ำ มีปีศำจ รูปร่ำงเหมือนสปำกเกตตี้ผสมลูกชิ้นเนื้อ ชักใยมนุษย์ทุกคนอยู่ แทนที่คนจะยืนบนโลกเพรำะ
แรงดึงดูด เขำอ้ำงว่ำ ทฤษฎีนี้ก็มีเหตุผลเช่นเดียวกับทฤษฎีที่คณะกรรมกำรน�ำมำบรรจุไว้ในหลักสูตรโรงเรียน เขำโพสต์เรื่องรำวนี้
บนเว็บไซต์ และได้รับควำมนิยมจนเกิดเป็นลัทธิอย่ำงเป็นทำงกำรชื่อ “Church of the Flying Spaghetti Monster”
268 Pastafarian’ man wins right to wear colander on his head in driving licence photo, Retrieved from
http://www.independent.co.uk/news/world/europe/pastafarian-man-wins-right-to-wear-colander-on-his-head-in-
driving-licence-photo-a6811326.html
340